Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/654
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสมยานะ, วีระศักดิ์-
dc.date.accessioned2017-12-07T08:29:31Z-
dc.date.available2017-12-07T08:29:31Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/654-
dc.descriptionโครงการวิจัยเรื่อง “การจัดการการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของภาคชนบท และชุมชนเมือง จังหวัดเชียงใหม่” มีวัตถุประสงค์ของเพื่อที่จะใช้กระบวนการของการจัดการ เรียนรู้เชิงบูรณาการแบบมีส่วนร่วมกับชุมชน เริ่มจากการพัฒนานักวิจัยของโครงการเพื่อวาง แผนการดำเนินงานร่วมกันกับนักวิจัยท้องถิ่น ซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานในท้องถิ่นนั้นๆ รวมถึงการ จัดการเรียนรู้ร่วมกันกับทรัพยากรมนุษย์หรือคนในชุมชนที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับการเรียนรู้ ครั้งนี้ โดยการพัฒนาการเรียนรู้ทุกกระบวนการเริ่มจาก 1) การไม่รู้ พัฒนาไปสู่ 2) การรับรู้ และ เป็น 3) การเลียนรู้ จนกระทั่งพัฒนาไปเป็น 4) การเรียนรู้ นั่นเอง ทุกขั้นตอนของการเรียนรู้จะ อาศัยการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเพื่อให้ทุกภาคส่วนได้ปฏิบัติการเรียนรู้ร่วมกันผ่านโครงการ บูรณาการการจัดการการเรียนรู้ด้านการสื่อสาร ให้การเรียนรู้เหล่านั้นเกิดการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องและเห็นผลสัมฤทธิ์ที่ชัดเจน อีกทั้งยังต้องทำการประเมินการพัฒนาโครงการที่มีผลต่อ การยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นนั้นๆ ด้วยการวัดมูลค่าเพิ่มจากการจัดการการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่น ในจังหวัดเชียงใหม่ ให้บังเกิดเห็นถึงคุณค่าและ ประโยชน์ที่ชัดเจนจากการดำเนินงานวิจัยครั้งนี้นั่นเอง ผลการวิจัยพบว่าสามารถพัฒนานักวิจัยของท้องถิ่นได้ทั้งสิ้น 42 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็น เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผนของชุมชน สามารถพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในชุมชนจังหวัด เชียงใหม่ได้ 42 ชุมชน กับการจัดการเรียนรู้ในการสร้างแผนพัฒนาชุมชนของท้องถิ่นได้ทั้งสิ้น 4 ด้าน คือ แผนพัฒนาชุมชนด้านเศรษฐกิจ จำนวน 17 แผน แผนพัฒนาด้านสังคมจำนวน 14 แผน แผนพัฒนาด้านการศึกษาจำนวน 6 แผน และแผนพัฒนาด้านอนามัยและสิ่งแวดล้อม จำนวน 5 แผน แผนพัฒนาเหล่านี้ได้ถูกนำไปปฏิบัติจริงกับชุมชนในท้องถิ่น โดยผ่านการ ประเมินผลการดำเนินงานด้วยตัวชี้วัดความมั่นคงของมนุษย์ (Human Security Indicators : HIS) อันจะทำให้ทราบถึงมูลค่าเพิ่มของโครงการต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นนั้นๆ ซึ่งผลการประเมินพบว่าทุกภาคส่วนทั้งผู้นำองค์กร ผู้ปฏิบัติงาน รวมถึงผู้รับนโยบาย หรือชุมชน สามารถบูรณาการร่วมกันในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการพัฒนาที่เริ่มต้นจากชุมชนและเพื่อชุมชนอย่างแท้จริง เปรียบเสมือนการพัฒนาจาก รากหญ้าสู่รากแก้วที่แข็งแกร่ง นอกจากนี้แผนพัฒนาชุมชนที่ได้จากการจัดการเรียนรู้ได้ ถูกนำไปผลิตสื่อสารสนเทศเพื่อการประชาสัมพันธ์แผนชุมชนโดยชุมชนแบบมีส่วนร่วมกับth_TH
dc.description.abstractLearning management to develop economic and social of rural an urban in Chiang Mai has objective to develop project’s researchers for working with local researchers and also arrange learning management with people who are involved in this study. Learning management is developed as follow; 1) unknown; 2) know; 3) imitation; 4) learning. Every process of learning depend on participatory communication so that everybody who join in this project can learn and continuously develop. Value added measurement of learning management will be used to evaluate the project whether or not it can enhance economic and social of communities. The study was that 42 local researchers were created. Most of them are planning and policy officers. Human resource are developed in 42 local communities. 4 local developmental planning are created; 17 plans of economic, 14 plans in social; 6 plans in education and 5 plans in hygienic and environment. All of these plans are operated in communities and evaluated by Human Security Indicators. The evaluation found that every people who join in this project such as leaders of organizations, workers, communities can develop their economic and social efficiently. In addition, local development plan gained from this learning management is used to produce media information to publicize the local plans joining with young public relation researchers broadcasted through Television of Thailand Channel 11 in Chiang Mai. Thus all of these people know the direction of their own social and economic development. As a result, this can help to motivate other people to participate in developing their communities.th_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการแห่งชาติth_TH
dc.format.mediumapplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChiang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rights©copyright มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่th_TH
dc.titleการจัดการการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของภาคชนบทและชุมชนเมือง จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover (ปก)426.52 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract (บทคัดย่อ)402.11 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent (สารบัญ)397.56 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-1.pdfChapter-1 (บทที่1)518.79 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-2.pdfChapter-2 (บทที่2)589.9 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-3.pdfChapter-3 (บทที่3)497.93 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-4.pdfChapter-4 (บทที่4)557.82 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-5.pdfChapter-5 (บทที่5)1.13 MBAdobe PDFView/Open
Chapter-6.pdfChapter-6 (บทที่6)425.44 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdfBibliography (บรรณานุุกรม)420.84 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix (ภาคผนวก)1.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.