Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2234
Title: รูปแบบการพัฒนาทักษะการรู้ดิจิทัลของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎ เชียงใหม่เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
Other Titles: Digital Literacy Skill Development of Chiang Mai Rajabhat University Students for Improving Learning Quality
Authors: ชื่นชม, สุทธินันท์
ใจรักษ์, กัลยา
โกวรรณ, อำนาจ
Chuenchom, Sutthinan
Jairak, Kallaya
Kowan, Umnaj
Keywords: การรู้ดิจิทัล Digital Literacy
คุณภาพการเรียนรู้ Learning Quality
Publisher: Chiang Mai Rajabhat University
Abstract: This research aimed 1) to study the digital literacy level of Chiang Mai Rajabhat University students, 2) to study the digital literacy skill development model for Chiang Mai Rajabhat University students, and 3) to study the implication of the digital literacy skill development model. The researchinstruments were Digital literacy level test. Data were analyzed by frequency, percentage, mean (  ), standard deviation (S.D.), t-test, and f-test. The research results revealed that overall most students have a high level of digital literacy. Cognitive skills was at the moderate level with the highest mean (x̅ = 4.21). All of 4 components and 12 indicators of digital literacy was at the moderate level, which should be improved. The digital literacy skill development model of Chiang Mai Rajabhat University students consists of 4 factors; a process for developing students' digital literacy skills, learning materials for developing digital literacy skills, learning channel for developing digital literacy skills, and university learning environment. From the implementation of the digital literacy skill development model of students at Chiang Mai Rajabhat University, level of digital literacy of students posttest and pretest were statistically significant. The posttest digital literacy is higher than the pretest digital literacy.
Description: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับการรู้ดิจิทัลของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษารูปแบบการพัฒนาทักษะการรู้ดิจิทัลของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ และ 3) เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการพัฒนาทักษะการรู้ดิจิทัลของนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบทดสอบระดับการร ู้ดิจิทัล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจก แจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (x̅)ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) t-test และ f-test ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวมนักศึกษาส่วนใหญ่มีระดับการรู้ดิจิทัลในระดับมาก องค์ประกอบที่ มีระดับการรู้ดิจิทัลในระดับมากและค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ องค์ประกอบที่ 4 ทักษะการตระหนักรู้ทั้ง 4 องค์ประกอบ และ 12 ตัวบ่งชี้อยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งอยู่ในระดับที่ควรได้รับการส่งเสริมพัฒนาให้สูง มากยิ่งขึ้นในทุกองค์ประกอบ รูปแบบการพัฒนาทักษะการรู้ดิจิทัลของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ กระบวนการในการพัฒนาทักษะการรู้ดิจิทัลของ นักศึกษา สื่อการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาทักษะการรู้ดิจิทัล ช่องทางการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการรู้ ดิจิทัล สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย จากการดำเนินงานตามรูปแบบการพัฒนาทักษะการ รู้ดิจิทัลของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ พบว่า การรู้ดิจิทัลของนักศึกษาก่อนและหลังเรียน ในทุกองค์ประกอบแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยการรู้ดิจิทัลหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยมากกว่า การรู้ดิจิทัลก่อนเรียน
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2234
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.pdfAbstract (บทคัดย่อ)217.44 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix (ภาคผนวก)180.31 kBAdobe PDFView/Open
Bibiliography.pdfBibiliography (บรรณานุกรม)423.56 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter1 (บทที่1)331.5 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter2 (บทที่2)1.42 MBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter3 (บทที่3)336.72 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter4 (บทที่4)1.54 MBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter5 (บทที่5)381.5 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)243.36 kBAdobe PDFView/Open
Cover.pdfCover(ปก)320.68 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.