Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2250
Title: รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำครูด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยกระบวนการจัดการความรู้
Other Titles: Model of Teacher Leadership Development in Educational Quality Assurance of basic educational institutions by the knowledge management process
Authors: ประสงค์สุข, คมศิลป์
Prasongsuk, Komsin
Keywords: ภาวะผู้นำครู Teacher Leadership
การประกันคุณภาพ Quality Assurance
การจัดการความรู้ knowledge management
Publisher: Chiang Mai Rajabhat University
Abstract: this research The purpose is to create a pattern. Try out the pattern and assess the model of teacher leadership development in educational quality assurance of basic education institutions by the knowledge management process The research process was divided into 3 phases: Phase 1, the creation of a model for developing teacher leadership in educational quality assurance of basic educational institutions. by the knowledge management process It was divided into 2 steps. The first step was to study the components of the teacher leadership development model in educational quality assurance of basic schools. by the knowledge management process from the study of documents A case study extracted the lessons of teacher leadership from one primary school, while the second step was to create a model for developing teacher leadership in educational quality assurance of basic schools. by the knowledge management process There were 5 steps: 1) Draft the model 2) Examine the model 3) Improve the model 4) Prepare the model's knowledge management action plan 5) Evaluate the model's knowledge management plan, Phase 2. An Experimental Model of Teacher Leadership Development in Educational Quality Assurance of Basic Educational Institutions by the knowledge management process at Ban Thung Kong Mu School, Pang Mu Sub-district, Mueang District, Mae Hong Son Province The group of informants consisted of 1 administrator, 5 teachers of the knowledge management team, and 3 members of basic education committees. by the knowledge management process The group of informants consisted of 1 administrator, 1 teacher of knowledge management team, and 3 members of basic education committees. The results showed that the model of teacher leadership development in educational quality assurance of basic education institutions The knowledge management process consisted of the following components: 1) teacher leadership development 2) development plan 3) implement the plan 4) follow up and improve 5) evaluate and summarize the experimental results. Using the educational quality assurance model within basic education institutions, it was found that most of the personnel found that it was useful and beneficial to the educational institution. Helping to implement educational quality assurance more efficiently. The results of the model evaluation revealed that it was possible. usefulness, suitability and correctness Covered at the highest level The respondents were satisfied. and opinions on the success of the implementation of the quality assurance model within basic education institutions. using knowledge management processes at the highest level
Description: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรูปแบบ ทดลองใช้รูปแบบ และประเมินรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำครูด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยกระบวนการจัดการความรู้ แบ่งขั้นตอนการวิจัยออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การสร้างรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำครูด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยกระบวนการจัดการความรู้ โดยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนแรก คือ การศึกษาองค์ประกอบเกี่ยวกับรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำครูด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยกระบวนการจัดการความรู้ จากการศึกษาเอกสาร กรณีศึกษาถอดบทเรียนภาวะผู้นำครูโรงเรียนแกนนำ 1 โรงเรียน ส่วนขั้นตอนที่ 2 คือ การสร้างรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำครูด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยกระบวนการจัดการความรู้ มีการดำเนินการ 5 ขั้น คือ 1) ร่างรูปแบบ 2) ตรวจสอบร่างรูปแบบ 3) ปรับปรุงรูปแบบ 4) จัดทำแผนการดำเนินการจัดการความรู้ของรูปแบบ 5) ประเมินแผนการจัดการความรู้ของรูปแบบ ระยะที่ 2 การทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำครูด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยกระบวนการจัดการความรู้ที่โรงเรียนบ้านทุ่งกองมู ตำบลปางหมู อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน กลุ่มผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหาร 1 คน ครูทีมการจัดการความรู้ 5 คน และกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 คน ระยะที่ 3 การประเมินรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำครูด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยกระบวนการจัดการความรู้ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหาร 1 คน ครูทีมการจัดการความรู้ 1 คน และกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 คน ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำครูด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยกระบวนการจัดการความรู้ มีองค์ประกอบ ได้แก่ 1) พัฒนาภาวะผู้นำครู 2) วางแผนพัฒนา 3) ปฏิบัติตามแผน 4) ติดตามและปรับปรุง 5) ประเมินและสรุปผลการทดลอง การใช้รูปแบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า บุคลากรส่วนใหญ่เห็นว่า มีประโยชน์ เกิดประโยชน์ต่อสถานศึกษา ช่วยให้การดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษามีประสิทธิภาพมากขึ้น ผลการประเมินรูปแบบ พบว่า มีความเป็นไปได้ ความเป็นประโยชน์ ความเหมาะสม และความถูกต้อง ครอบคลุมอยู่ในระดับมากที่สุด กลุ่มผู้ให้ข้อมูลมีความพึงพอใจ และความคิดเห็นต่อความสำเร็จของการดำเนินการตามรูปแบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ อยู่ในระดับมากที่สุด
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2250
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bibiliography.pdfBibiliography (บรรณานุกรม)154.23 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter1 (บทที่1)155.9 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter2 (บทที่2)816.63 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter3 (บทที่3)136.85 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter4 (บทที่4)286.56 kBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter5 (บทที่5)154.15 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)98.01 kBAdobe PDFView/Open
Cover.pdfCover(ปก)93.61 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract (บทคัดย่อ)67.96 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix (ภาคผนวก)1.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.