Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/800
Title: กระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวมในการพัฒนาอาชีพเสริมเพื่อสรางความ เขมแข็งใหกับชุมชนตําบลสันปายาง อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม่
Authors: เซียซาร, อัจฉรียา
จิตรวิจารณ, ชวิศ
Keywords: กระบวนการเรียนรู
การพัฒนา
อาชีพเสริม
Issue Date: 2550
Publisher: Chiang Mai Rajabhat University
Abstract: การศึกษา “กระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวมในการพัฒนาอาชีพเสริมเพื่อสรางความเขมแข็งใหกับชุมชนตําบลสันปายาง อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม มีวัตถุประสงคเพื่อ พัฒนาอาชีพเสริมใหกับชุมชนสันปายาง โดยอาศัยกระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวมของชาวบานในการคนหาอาชีพเสริมที่เหมาะสมกับวิถีชีวิต ทรัพยากรที่มีอยูในทองถิ่น และภูมิปญญาพื้นบาน พบวา ชุมชนมีพื้นฐานทางอาชีพเกษตรกรรมและรับจางทั่วไปเปนหลัก มีบางสวนที่มีรายไดเสริมจากการเลี้ยงสัตว หาของปา อาทิ เห็ด หนอไม ผึ้งและน้ําผึ้งขาย รายไดของชาวบานสวนใหญอยูในระดับคอนขางต่ําเฉลี่ย 2,000 - 3,000 บาทตอเดือน และจากการเรียนรูแบบมีสวนรวมในการคนหาอาชีพเสริมของชุมชน โดยเริ่มจากการคนหาทุนของทรัพยากร วัตถุดิบที่มีใน ทองถิ่น รูปแบบวิถีชีวิตของคนในชุมชน ภูมิปญญาบุคคล และสภาพของเศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดลอมในชุมชน ผานเวทีชาวบานและการสนทนากลุมยอย ทําใหชาวบานไดมีการสรางความสัมพันธกับผูรูและกลุมตางๆในชุมชนมากขึ้น ทําใหนําไปสูการระดมความคิดเพื่อวิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้นรวมกัน ซึ่งชาวบานพบวาการที่จะประกอบอาชีพเสริมของชุมชนใหประสบ ความสําเร็จนั้นตองศึกษาจากอาชีพที่อยูใกลตัวของชาวบานมากที่สุด และตองเปนอาชีพที่เหมาะสม สามารถทําไดงาย ไมตางไปจากวิถีชีวิตในชุมชน และมีทรัพยากรที่เปนตนทุนหรือวัตถุดิบในชุมชน เพื่อไมทําใหเงินไหลออกนอกชุมชน การคนหาความตองการอาชีพเสริมในชุมชน พบวา การเพาะเห็ด เปนอาชีพที่ชาวบานมีความสนใจมากที่สุด เนื่องจากมีวัตถุดิบในการผลิตซึ่งไดแก ขี้เลื่อย กากถั่วเหลือง แกลบ รําขาว ที่สามารถหาไดในทองถิ่น อีกทั้งการเพาะเห็ด สามารถใชเปนอาหารไวบริโภคในครอบครัวและจําหนายในชุมชนได นอกจากนี้สภาพภูมิอากาศของชุมชนที่รอนอบอาวยังเอื้ออํานวยตอการเพาะเห็ด ทําใหสามารถเพาะไดตลอดทั้งป ไมตองการพึ่งพาเทคโนโลยีที่สูงมาก ตลอดจนตลาดมีความตองการ และนิยมบริโภคในทองถิ่น จากนั้นชุมชนก็ไดรวมกันแสวงหาทางเลือกในการเรียนรูเพื่อจะนํามาใชพัฒนาอาชีพรวมกันซึ่งประกอบดวยกิจกรรม การฝกอบรมการเพาะเห็ด การศึกษาดูงานจากโครงการพิเศษสวนเกษตรเมืองงายในสมเด็จพระนางเจา พระบรมราชินีนาถ เพื่อนําไปสูการลงมือปฏิบัติเพาะเห็ดในชุมชน และจากการศึกษาการรวมกลุมในการประกอบอาชีพเสริมของชุมชนในตําบลสันปายาง พบวา เปนการรวมกลุมในการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปนหลัก โดยกลุมอาชีพตางๆในชุมชนมีโครงสรางการบริหารคจัดการในรูปแบบคณะกรรมการที่ประกอบดวยประธาน รองประธาน เหรัญญิก กรรมการเลขานุการ และสมาชิกกลุม มีกิจกรรมของกลุมที่สําคัญคือรวมมือกันทํางานและปฏิบัติกิจกรรมตามวัตถุประสงคของกลุม โดยมีการเรียนรูรวมกันของสมาชิกกลุมทั้งจากการถายทอดองคความรูภายในกลุม การเรียนรูจากการฝกอบรม และการศึกษาดูงาน เงื่อนไขในการรวมกลุมเกิดจากทั้งภายในชุมชนและภายนอกชุมชน เงื่อนไขภายในชุมชนเกิดจากความตองการรวมกลุมชวยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนาอาชีพเสริมของแตละกลุม รวมทั้งการสนับสนุนจากองคการบริหารสวนตําบลสันปายาง สวนเงื่อนไขภายนอกชุมชน เปนเงื่อนไขที่เกิดขึ้นจากความตองการในการบริโภคสินคาจากชุมชน เงื่อนไขในการสนับสนุนสงเสริมองคความรูตางๆ จากหนวยงานและสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม ซึ่งผลจากการรวมกลุมในการประกอบอาชีพเสริมทําใหสมาชิกกลุม มีความสามารถแกไขปญหาทางเศรษฐกิจสามารถเพิ่มรายไดเพิ่มเติมจากอาชีพหลักซึ่งชุมชนสวนใหญมีอาชีพเกษตรกรรม การรวมกลุมทําใหชุมชนสามารถพึ่งตนเองได มีเงินทุนหมุนเวียนเพื่อใชจายในชีวิตประจําวันทําใหมีความเปนอยูและคุณภาพชีวิตดีขึ้น
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/800
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover391.23 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract365.73 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent426.5 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-1.pdfChapter-1403.59 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-2.pdfChapter-2571.83 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-3.pdfChapter-3392.62 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-4.pdfChapter-41.41 MBAdobe PDFView/Open
Chapter-5.pdfChapter-5427.82 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdfBibliography405.87 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix1.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.