Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/554
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสมยานะ, วีระศักดิ์-
dc.date.accessioned2017-10-06T04:27:26Z-
dc.date.available2017-10-06T04:27:26Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/554-
dc.descriptionThis research aims to study guidelines to evaluate and enhance the value added from the development of local tourism management. It is the qualitative research and supported by the quantitative analysis. Primary data was gathered from 11 groups of tourism communities with 8 types of local tourism in Chiang Mai who were willing to participate in this project. SWOT analysis and focus group are used to get a suitable way to evaluate the value added of the project. Quantitative data was collected from the benefit cost of the operation from 8 types of local tourism. Descriptive statistics such as mean and percentage were analyzed and illustrated the value added of this project. The finding showed that a suitable way to evaluate the value added of development the potentiality of tourism management is to evaluate the benefit cost of this project. This way can make local people analyze the value added of the tourism project by themselves so that they can apply and enhance their potentiality in tourism management. The value added up to 112.11% is from the participation between communities and other organizations in communities. The tourism of small and micro economic enterprise project, development the people’s potentiality project, management the natural resources project and cultural tourism project could create the value added 61.05%, 22.27%,22.207% and 10.23% respectively. All of these projects should be promoted by let communities to do by themselves. Agro-tourism, health tourism and historical tourism should be supported by other involving organizations because communities can’t do by themselves. Thus it make the value added of these projects are in negative up to 118.07%, 157.31% and 241.95% respectively.th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง “การประเมินมูลค่าเพิ่มจากการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยชุมชน จังหวัดเชียงใหม่” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการประเมินมูลค่าเพิ่มจากการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยชุมชน เพื่อให้ได้แนวทางการเพิ่มมูลค่าของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ การวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและสนับสนุนด้วยการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ข้อมูลปฐมภูมิรวบรวมจากกลุ่มท่องเที่ยวชุมชน จำนวน 11 ชุมชน 8 ประเภท ของการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ ที่สมัครใจในการร่วมเวทีเสวนาปฏิบัติการ อาศัยกระบวนการ SWOT และการ Focus group เพื่อให้ทราบถึงแนวทางการประเมินมูลค่าเพิ่มของโครงการที่เหมาะสม จนนำไปสู่การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณที่ได้จากแบบประเมินต้นทุนและผลตอบแทนการดำเนินธุรกิจท่องเที่ยวโดยชุมชน ทั้ง 8 ประเภท จากนั้นนำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติอย่างง่าย คือ ค่าเฉลี่ยและค่าร้อยละ ซึ่งจะแสดงให้ถึงมูลค่าเพิ่มของโครงการท่องเที่ยวโดยชุมชน ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการประเมินมูลค่าเพิ่มของโครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนที่เหมาะสมคือ การประเมินต้นทุนและผลตอบแทนของโครงการ เนื่องจากแนวทางดังกล่าวชุมชนสามารถนำไปวิเคราะห์มูลค่าเพิ่มของโครงการท่องเที่ยวได้ด้วยตนเอง ด้วยความเข้าใจ จนนำไปประยุกต์ใช้ต่อแนวทางการเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการการท่องเที่ยวได้ด้วยชุมชนเอง ทั้งนี้มูลค่าเพิ่มสูงสุดร้อยละ 112.11 พบว่าเป็นของโครงการที่เกิดจากการบูรณาการทำงานร่วมกันแบบมีส่วนร่วมระหว่างชุมนและองค์กรชุมชน รองลงมาคือ โครงการท่องเที่ยวเชิงวิสาหกิจชุมชน โครงการพัฒนาศักยภาพบุคคล โครงการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติ และโครงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับชุมชนได้ถึงร้อยละ 61.05, 22.27, 22.27, และ 10.23 ตามลำดับ โครงการเหล่านี้ควรที่จะได้รับการสนับสนุนให้ชุมชนดำเนินการด้วยชุมชนเอง ส่วนโครงการที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายต้องให้ความช่วยเหลือต่อการเพิ่มศักยภาพ ได้แก่ การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ เพราะโครงการเหล่านี้ชุมชนยังต้องพึ่งพาความช่วยเหลือจากภายนอกชุมชนเป็นหลัก พิจารณาได้จากมูลค่าเพิ่มของโครงการที่ติดลบสูงถึงร้อยละ 118.07, 157.31 และ 241.95 ตามลำดับ จึงจะทำให้การท่องเที่ยวดังกล่าวประสบความสำเร็จและอยู่ได้อย่างยั่งยืนth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)th_TH
dc.format.mediumapplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChiang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rights@CopyRights มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่th_TH
dc.subjectการประเมินมูลค่าเพิ่มth_TH
dc.subjectการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนth_TH
dc.titleการประเมินมูลค่าเพิ่มจากการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยชุมชน จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover462.56 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract430.04 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent418.08 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter1455.86 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter2583.91 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter3496.15 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter4874.97 kBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter5449.51 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdfBibliography401.09 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix686.36 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.