Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2193
Title: พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์อย่างยั่งยืน
Other Titles: The development of the Cultural Tourism of Sustainable Ethin Goulp
Authors: อิศรากร, พัลวัลย
Punwun, Idsaragon
Keywords: กลุ่มชาติพันธุ์
ดนตรี
มานุษยวิทยา
มานุษยวิทยาดนตรี
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
Publisher: Chiang Mai Rajabhat University
Abstract: The research titled “The development of the Cultural Tourism of Sustainable Ethin Goulp” was the quality research which collected the data by interviewing, observation, taking note and recording audio. The researcher had divided the issues into 3 topics which were 1) study the context, culture, traditions, lifestyles and beliefs of ethnic groups 2) study music and performance of ethnic groups and 3) study on the application of lifestyle, culture, traditions, beliefs, music and performance for cultural tourism. The results of the study of the context, culture, traditions, way of life and beliefs of ethnic groups were found that the Lahu or Muser Daeng ethnic groups in Mae Na subdistrict, Chiang Dao District Chiang Mai Province live in “Ban Pa-Lo” which are part of Mae Mae village. Most of the people are Buddhism and work in agriculture by growing tea and coffee and be homestay owners. As for the traditions that remain today, there are only two traditions: the “Kin Wo” and the “Kin Khao Mai”. The “Kin Wo” tradition is like a ceremony to celebrate the New Year. It is a ceremony to worship “Ton Wo” which is like the sacred object of the village. The “Kin Khao Mai” is tradition which as welcoming ceremony to a new agricultural season. The people take out the remaining old rice in the barn to cook and eat together, and then they prepare fields for a new round of farming. The results of the study of music and performance of the Lahu ethnic group, Ban Pa-Lo, found that the important and characteristic music instrument of the Lahu จ people was “Nor”, which was a kind of woodwind instrument. “Nor” made from the gourd in tusk shape. The pipe and the reed are made from bamboo, using the bee’s wax or the oakum to cover the seam to prevent the inside wind come out. “Nor” can give a total of 5 notes in comparison with the international notes C, D, E, E and G. The main melodies of the Lahu ethnic group are the “Malawang” melodies and the “Ja Kue” melodies. The “Malawang” is played in general which is not used in any ritual, but the “Ja Kue” is played in a ritual of “Kin Wo” to worship the “Ton Wo”. Both of “Malawang” and “Ja Kue” melody was classified in themes of a monologue format with has only one important melody. However, the performers may improvise melody in their own style. There is only 1 person who plays “Nor” in “Ban Pa-Lo”. The music player performs the song at the “Kin Wo” tradition only once a year. The results of the study of approaches to the application of lifestyles, cultures, traditions, beliefs, music and performance for cultural tourism were found that the music culture of the Lahu ethnic group in “Ban Pa-Lo” gradually faded over time. However, integrating music culture with tourism is one way to save it from being lost. The play of “Nor” in the melody of “Malawang” and “Ja Kue” represents a happy and funny moment of the Lahu ethnic group that have been passed down from generation to generation. Thus, playing “Nor” applied with various instruments such as Lanna music can create a unique identity of the community and represents a close relationship between indigenous people and ethnic groups that live with each other which is a part of attracting tourists and also helping to increase the income of the musicians. This requires a group of people to practice playing musical instruments by scheduling a relaxed and organized rehearsal session to attract interested people, both young and adult, to join the group and practice. It is the continuation of the musical culture which is the legacy of the previous generation that has been passed down. In addition to conservation, the benefit of generating additional income from playing music in promoting cultural tourism is one of the motivations for the villagers of “Ban Pa-Lo” and “Ban Mae Mae” to turn their attentionand learn to play music helping the music culture to remain local for a long time
Description: งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์อย่างยั่งยืน เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ วิธีการเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ การสังเกต จดบันทึก รวมถึง การบันทึกเสียง ผู้วิจัยได้แบ่งประเด็นการศึกษาไว้ 3 ประเด็นใหญ่ตามวัตถุประสงค์ ได้แก่ 1) ศึกษาบริบทวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตและความเชื่อของกลุ่มชาติพันธุ์2) ศึกษาดนตรีและ การแสดงของกลุ่มชาติพันธุ์ และ 3) ศึกษาแนวทางการประยุกต์วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ ดนตรีและการแสดงเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ผลการศึกษาบริบทวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตและความเชื่อของกลุ่มชาติพันธุ์ พบว่า กลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่หรือมูเซอแดงในต าบลแม่นะ อ าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ อาศัยอยู่ใน บ้านป่าโหลซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหมู่บ้านแม่แมะ ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และประกอบ อาชีเกษตรกรรม ปลูกชา กาแฟ รวมถึงการท าโฮมสเตย์ ไม่ปรากฏการนับถือผี ส่วนประเพณี ที่หลงเหลือในปัจจุบันมีเพียง 2 ประเพณีเท่านั้น คือ พิธีกินวอและพิธีกินข้าวใหม่ โดยพิธีกินวอ เปรียบเสมือนพิธีเฉลิมฉลองวันปีใหม่ เป็นพิธีบูชาต้นวอ ซึ่งเปรียบเสมือนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจ าหมู่บ้าน ส่วนพิธีกินข้าวใหม่นั้น เสมือนการต้อนรับเข้าสู่ฤดูแห่งการท าเกษตรกรรมครั้งใหม่ โดยจะน าข้าวเก่า ที่เหลือในยุ้งออกมารับประทานร่วมกันและเตรียมพร้อมสู่การท าเกษตรรอบใหม่ ผลการศึกษาดนตรีและการแสดงของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่บ้านป่าโหล พบว่า เครื่องดนตรี ที่ส าคัญและเป็นอัตลักษณ์ของชาวลาหู่คือ หน่อ ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มแคน เป็นเครื่องดนตรีประเภท เครื่องเป่า ท าจากลูกน้ าเต้าและท่อไม้ที่ท าจากไผ่เฮียะที่มีความยาวแตกต่างกัน 5 ท่อ เชื่อมติดกันด้วย ขี้ชันโรง ลิ้นที่ใช้ติดกับท่อเสียงก็ท ามาจาไม้ไผ่เช่นกัน หน่อ สามารถบรรเลงเสียงออกมาได้ทั้งหมด 5 เสียงหรือ 5 โน้ต เมื่อเทียบกับเสียงสากลคือ โน้ต C, D, E, E และ G ท านองเพลงหลักของ กลุ่มชาติพันธุ์ล่าหู่ คือ ท านองเพลงมาลาแวงและท านองเพลงจะคึ โดยเพลงมาลาแวงจะใช้บรรเลง ทั่วไป ไม่ได้ใช้ในพิธีกรรมใด ๆ แต่ท านองเพลงจะคึ จะใช้เล่นในพิธีกรรมกินวอเพื่อบูชาต้นวอ โดยทั้งท านองมาลาแวงและท านองเพลงจะคึ มีคีตลักษณ์อยู่ในรูปแบบเอกบท โดยมีท านองส าคัญ เพียงท านองเดียวเท่านั้น แต่ผู้บรรเลงอาจสอดแทรกเทคนิคการเล่นตามแบบฉบับของตนได้ ค ซึ่งผู้บรรเลงหน่อหรือเจ้าปี่ของบ้านป่าโหลมีเพียง 1 คน โดยจะจัดแสดงเพลงในงานกินวอ เพียงปีละ 1 ครั้งเท่านั้น ผลการศึกษาแนวทางการประยุกต์วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ ดนตรี และการแสดงเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม พบว่า วัฒนธรรมทางดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่ ในบ้านป่าโหลค่อย ๆ เลือนหายไปตามกาลเวลา อย่างไรก็ตาม การบูรณาการด้านวัฒนธรรมดนตรี เข้ากับการท่องเที่ยวเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยอนุรักษ์ไว้ไม่ให้สูญหายไป การบรรเลงหน่อในท านอง เพลงมาลาแวงและท านองเพลงจะคึ แสดงถึงความสนุกสนานซึ่งเป็นกิจกรรมที่ผ่อนคลายของชาวลาหู่ ที่สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ดังนั้น การแสดงหน่อประยุกต์เข้ากับเครื่องดนตรีต่าง ๆ เช่น ดนตรีล้านนา จึงเป็นการสร้างเอกลักษณ์ของชุมชนและแสดงถึงความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่าง คนพื้นเมืองและกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ด้วยกัน เป็นส่วนหนึ่งในการดึงดูดนักท่องเที่ยว และยังช่วย เสริมรายได้ให้แก่กลุ่มนักดนตรีด้วย ทั้งนี้ ต้องอาศัยการรวมกลุ่มของชาวชุมชนเพื่อฝึกหัดเล่น เครื่องดนตรี โดยต้องจัดสรรช่วงเวลาการซักซ้อมแบบผ่อนคลายและเป็นระบบ เพื่อดึงดูดให้ผู้สนใจ ทั้งเด็กและผู้ใหญ่เข้ามารวมกลุ่มและเกิดการฝึกซ้อม นับเป็นการสืบสานวัฒนธรรมทางดน ตรี ซึ่งเป็นมรดกของคนรุ่นก่อนที่ส่งต่อมาเป็นทอด โดยนอกเหนือจากการอนุรักษ์ รักษาไว้แล้ว ประโยชน์จากการสร้างรายได้เสริมจากการเล่นดนตรีในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ก็เป็นแรงจูงใจหนึ่งที่ท าให้ชาวบ้านป่าโหลและบ้านแม่แมะหันมาให้ความสนใจและหัดเล่น เครื่องดนตรี ช่วยให้วัฒนธรรมทางดนตรีคงอยู่ในท้องถิ่นสืบไป
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2193
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chapter1.pdfChapter1 (บทที่1)340.6 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter2 (บทที่2)602.37 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter3 (บทที่3)314.63 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter4 (บทที่4)4.39 MBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter5 (บทที่5)356.6 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)301.14 kBAdobe PDFView/Open
Cover.pdfCover(ปก)375.55 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract (บทคัดย่อ)291.36 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix (ภาคผนวก)301.6 kBAdobe PDFView/Open
Bibiliography.pdfBibiliography (บรรณานุกรม)315.21 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.