Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/922
Title: การพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารงานโรงเรียนอนุบาล เทศบาลตําบลแม่อาย (บ้านเด่น) อําเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้เทคนิคการประชุมเชิงสร้างสรรค
Other Titles: THE DEVELOPMENT OF COMMUNITY PARTICIPATION MANAGEMENT BY APPRECIATION INFLUENCE CONTROL IN BAN DEN MUNICIPALITY SCHOOL, MAE AI DISTRICT, CHIANG MAI PROVINCE
Authors: บุญทว, ธนวัฒน
อริยา, สมบูรณ
เวชชะ, ประเวศ
Keywords: ประชุมเชิงสรางสรรค (AIC)
การพัฒนาการมีสวนรวม/การมีสวนรวม
การบริหารการศึกษา
Appreciation Influence Control (AIC)
Developing Participation/Participation
Educational Administration
Issue Date: 26-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การวิจัยเรื่อง การพัฒนาการมีสวนรวมของชุมชนในการบริหารงานโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตําบลแมอาย (บานเดน) อําเภอแมอาย จังหวัดเชียงใหม โดยใชเทคนิคการประชุมเชิงสรางสรรค (AIC: Appreciation Influence Control) มวีัตถุประสงค เพื่อศึกษาสภาพการมีสวนรวมของชุมชนในการบริหารงานโรงเรียน และเพื่อเสนอแนวทางการมีสวนรวมในการบริหารงาน โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตําบลแมอาย (บานเดน) อําเภอแมอาย จังหวัดเชียงใหม กลุ่มเปาหมายที่ใชในการศึกษาสภาพ การมสีวนรวมของชุมชนในการบริหารงานโรงเรียน โดยใชแบบสอบถาม ไดแก คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวแทนชุมชน และตัวแทนผูปกครองนักเรียน จํานวน 40 คน และกลุมเปาหมาย เพื่อเสนอแนวทางการมีส่วนรวมในการบริหารงานโรงเรียน โดยใชคูมือเทคนิคการประชุมเชิงสรางสรรค (AIC) ไดแก คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวแทนชุมชน และตัวแทน ผูปกครองนักเรียน จํานวน 22 คน การวิเคราะหขอมูลใชกระบวนการวิเคราะหเชิงปริมาณ โดยใชสถิติคาเฉลี่ยและ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใชการวิเคราะหเชิงเนื้อหา โดยสรุปเปนลักษณะความเรียง ผลการวิจัยพบวา 1. สภาพการมีสวนรวมของชุมชนในการบริหารงานโรงเรียน 1.1 การบริหารงานวิชาการ โดยภาพรวมชุมชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนดานการบริหาร งานวิชาการเฉลี่ยทงั้ 3 กลุ่ม อยูในระดับมาก โดยกลุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมสีวนรวมในการบริหารงานวิชาการ ในระดับมาก สวนกลุมตัวแทนชุมชน และกลุมตัวแทนผูปกครองนักเรียนมสีวนรวมในการบริหารงานวิชาการในระดับปานกลาง 1.2 การบริหารงานงบประมาณ โดยภาพรวมชุมชนมสีวนรวมในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนดานการบริหารงาน งบประมาณเฉลี่ยทั้ง 3 กลุม อยู่ในระดับมาก โดยกลุ่มคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และกล ุมตัวแทนชุมชน มีสวนรวมในการบริหารจัดการดานงบประมาณในระดับมาก กลุมตัวแทนผูปกครองนักเรียนมีสวนรวมระดับปานกลาง 1.3 การบริหารงานบุคคล โดยภาพรวมชุมชนมสีวนรวมในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนดานการบริหารงาน บุคคลเฉลี่ยทั้ง 3 กลุม อยู่ในระดับปานกลาง โดยกลุ่มคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและกลุ่มตัวแทนชุมชนมีสวนรวม การบริหารงานบุคคลในระดับมาก สวนกลุมตัวแทนผูปกครองนักเรียนมีสวนรวมระดับปานกลาง 1.4 การบริหารงานทั่วไป โดยภาพรวมชุมชนมสีวนรวมในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนดานการบริหารงาน ทั่วไปเฉลี่ยทั้ง 3 กลุม อยูในระดับมาก กลุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีสวนรวมในบริหารงานดานการบริหารทั่วไป โดยเฉลี่ยมากกวากลุมอื่น รองลงมา ไดแก กลุมตัวแทนชุมชน และกลุมตัวแทนผูปกครองนักเรียน ตามลําดับ 2. แนวทางพัฒนาการมสีวนรวมของชุมชนในการบริหารงานโรงเรียนดานการวางแผนพัฒนาการมสีวนรวมบริหารโรงเรียน โรงเรียนควรกําหนดวิสัยทัศนเปนโรงเรียนม ุงจัดการศึกษาโดยใหประชาชนเขามามีสวนรวมในงานบริหารทั้ง 4 งาน ควรกําหนดพันธกิจ สรางความเขาใจในการจัดการศึกษาแกชุมชน ครู ผูปกครอง เปดโอกาสใหชุมชนมีสวนรวมอยางกวางขวาง มีเปาประสงคใหชุมชนเขามีสวนรวมในการบริหารโรงเรียน ตั้งแตปการศึกษา 2559 ควรมีการกําหนดยุทธศาสตร พัฒนา กระบวนการมีสวนรวม พัฒนาความร ูความเขาใจการมีสวนรวมในการบริหารงานแกบุคลากรของโรงเรียน พัฒนาความรู้ ความเขาใจของกลุ่มมตางๆ ที่จะเขามามีสวนรวมบริหารงานโรงเรียน ใหมีโครงการ 5 โครงการ ไดแก โครงการครู บุคลากร กางแขนรับการมีสวนรวมของชุมชน โครงการปรับมโนทัศนชุมชนกับการมีสวนรวมจัดการศึกษา โครงการวันแมสานใจ ใหการศึกษา โครงการวันพอทอใจระดมทุน และโครงการเปดโลกทัศนศึกษาดูงาน ขอมูลที่ไดจากการศึกษาชวยใหผูปกครอง ผูนําชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานทราบถึงความสําคัญ และ สามารถปรับบทบาทหนาที่ของการเขามามีสวนรวมจัดการศึกษา สามารถสนับสนุน สงเสริม แกปญหาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา เพื่อสนองความตองการของชุมชนได
Description: The purposes of this study, aimed to investigate the present situations and on-going strategies for the community participation management by appreciation influence control in Ban Den Municipality School, Mae Ai District, Chiang Mai Province. Target group for the study of the community participation management included 40 members from the basic educational committee, community representatives and parent representatives, with a questionnaire survey. Another the target group for the finding community participation using appreciation influence control included 22 members from the basic educational committee, community representatives and parent representatives with a manual of the appreciation influence control technique (AIC). Quantitative Analysis were applied with the use of mean and standard deviation. Narrative technique was employed in content analysis. The findings of the study divided into two major aspects were as follows: 1. Community participation in organizational administration at glance 1.1 Academic management: Overall it was stated that the three targeted groups’ community participation in their academic management was rated at a high level. The basic educational committee and community representatives rated it at a high level, meanwhile the parent representatives rated their participation at a moderate level; 1.2 Budget management: it was stated that the three targeted groups’ community participation in their budget management was rated at a high level. The basic educational committee and community representatives rated their participation at a high level, whereas parent representatives rated their participation at a moderate level 1.3 Personnel management: it was stated that the three targeted groups’ community participation in their personnel management was rated at a moderate level. The basic educational committee and community representatives rated their participation at a high level whereas parent representatives rated their participation at a moderate level; 1.4 General management: it was stated that the three targeted groups’ community participation in their general management was rated at a high level. The basic educational committee rated their participation at the highest level, followed by the community representatives and the student parents respectively. 2. The on-going strategies for the development of the three targeted groups’ community participation in their organizational management were suggested that the provisions for the enhancement of the school’s practical vision and missions with well-planned organizational management; the community residents’, teachers’ and student parents’ better understandings of their educational management; the community residents’ opportunities in participating in their organizational management, and the community residents’ goals for participating in their organizational management taken place in the academic year 2016 be all required. Not only should the school’s on-going strategies for participatory process development be set up, but also the school staff’s better understandings of their participation in personnel management should also be encouraged. Moreover, the other involved participants’ cooperation in effectively managing the five major projects (e.g. project for school staff’s community participation; project for community paradigm shifts on participatory educational management; project for Mother’s day with her educational sponsorship; project for Father’s day with his financial supports, and project for educational fieldtrips) should be enhanced. The information from the study help the parents, the community leaders, the school boards know the importance and adapt that the community role on the participation in the education can support and solve the education problem for the betterment of the community.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/922
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.