กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/914
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาหลักสูตรสิ่งแวดล้อมบนพื้นที่สูงสำหรับนักศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอเชียงดาวและอำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่
ชื่อเรื่องอื่นๆ: DEVELOPMENT OF HIGHLAND ENVIRONMENT CURRICULUM FOR STUDENTS IN CHIANG DAO AND CHAIPRAKARN DISTRICT UNDER CHIANG MAI PROVINCIAL OFFICE OF THE NON-FORMAL AND INFORMAL EDUCATION
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: คลายบวร, ภิญโญ
พัฒนพงศา, นรินทรชัย
คำสำคัญ: การพัฒนาหลักสูตรสิ่งแวดลอมบนพื้นที่สูง
แผนการจัดการเรียนรู
นักศึกษาสังกัดสำนักงานสงเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงใหม
Development of Highland Environment Curriculum
Lesson Plan
Students under Chiang Mai Provincial Office of the Non-formal and Informal Education
วันที่เผยแพร่: 26-มกร-2561
สำนักพิมพ์: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาสภาพและปญหาสิ่งแวดลอมบนพื้นท่ีสูงในอำเภอเชียงดาวและอำเภอ ไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม 2) พัฒนาหลักสูตรสิ่งแวดลอมบนพื้นที่สูงสำหรับนักศึกษาสังกัดสำนักงานสงเสริมการศึกษา นอกระบบและการศกึษาตามอธัยาศยั อำเภอเชยีงดาวและอำเภอไชยปราการ จงัหวดัเชยีงใหม และ 3) ทดสอบและเปรยีบเทยีบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องสิ่งแวดลอมบนพื้นที่สูงสำหรับนักศึกษาของศูนยการเรียนรูชุมชนชาวไทยภูเขา (ศศช.) และ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) อำเภอเชียงดาวที่เปนกลุมทดลองและอำเภอไชยปราการที่เปน กลุมควบคุมในสังกัดสำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงใหม โดยใชวิธีการวิจัย เชิงคุณภาพจากเอกสาร การสำรวจชุมชน และการสัมภาษณ ใชแบบสอบถามเรื่องปญหาและปจจัยที่สงผลตอสิ่งแวดลอม บนพื้นที่สูง จากผูบริหาร ครู เจาหนาที่ พระนักพัฒนา ผูนำชุมชน และนักศึกษา และใชแบบทดสอบผูเรียนในดานความรู (K) ทัศนคติ (A) และพฤติกรรม/การปฏิบัติ (P) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งการทดสอบกอนเรียน (Pre-test) และ หลังเรียน (Post-test) ที่ไดมาจากนักศึกษาระดับประถมศึกษาของศูนยการเรียนรูชุมชนชาวไทยภูเขา (ศศช.) และศูนย การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) จังหวัดเชียงใหม (บนพื้นที่สูง) ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2558 ทั้งหมด 15 อำเภอ รวมทั้งสิ้น 5,237 คน ทำการสุมตัวอยางแบบแบงกลุม (Cluster Random Sampling) โดยเลือกมา 2 อำเภอ ไดแก อำเภอเชียงดาวและอำเภอไชยปราการ แลวใชการสุมอยางงายโดยการจับฉลากใน 2 อำเภอ เพื่อเลือกมา อำเภอละ 2 ศูนยการเรียนรู คือ ศูนยการเรียนรูชุมชนชาวไทยภูเขา (ศศช.) และศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย (กศน.) กำหนดใหอำเภอเชียงดาวเปนกลุมทดลอง โดยทั้ง 2 ศูนยการเรียนรู มีผูมาเรียนประจำ 27 คน และให อำเภอไชยปราการเปนกลุมควบคุม โดยทั้ง 2 ศูนยการเรียนรู มีผูมาเรียนประจำ 25 คน และทำการประเมินความพึงพอใจ ของกลุมทดลองตอการใชหลักสูตรฯ วิเคราะหขอมูลโดยใชการสรุปเรียบเรียงเนื้อหาที่ไดจากขอมูลเชิงคุณภาพ และใชสถิติ ที่เปนคารอยละ คาเฉล่ีย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test แบบกลุมตัวอยางที่เปนอิสระตอกัน สำหรับการวิจัย เชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบวา 1. สภาพและปญหาสิ่งแวดลอมบนพื้นที่สูงในอำเภอเชียงดาวและอำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม สวนใหญมาจาก ความอุดมสมบูรณของปาไมและทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งตอมามีปญหาความไมสมดุลของสิ่งแวดลอม เชน การตัดไมทำลายปา การบุกรุกพื้นที่ปา การเผาปา ปญหาหมอกควัน ระบบนิเวศเสียหาย อากาศรอนขึ้น น้ำทวม ภาวะแหงแลง ดินถลมและ เสื่อมสภาพ สัตวปาลดนอยลง รวมถึงปญหาขยะมูลฝอย โดยที่แนวทางการแกไขจะตองมาจากการศึกษาเพื่อที่จะปลูกฝง จิตสำนึกของคนใหเกิดความรวมมือในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมถึงผลการสำรวจสภาพแวดลอม ในชุมชนและการศึกษาปจจัยที่สงผลตอการแกไขปญหานั้นจำเปนตองอาศัยการพัฒนาหลักสูตรสิ่งแวดลอมบนพื้นที่สูง และ เปนไปในแบบบูรณาการ โดยจะตองรวมมือกันทุกฝาย 2. ผลการพัฒนาหลักสูตรสิ่งแวดลอมบนพื้นที่สูงสำหรับนักศึกษาสังกัดสำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงใหม ไดหลักสูตรที่มีแผนการจัดการเรียนรู 9 สาระการเรียนรู จำนวน 40 ชั่วโมง และ แผนกิจกรรมเสริมสรางประสบการณ จำนวน 30 ชั่วโมง รวมเปน 70 ชั่วโมง 3. ผลการทดสอบและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน พบวา คะแนนเฉลี่ยดานความรู (K) ทัศนคติ (A) และพฤติกรรม/การปฏิบัติ (P) ที่ถูกตองและเหมาะสมของนักศึกษากลุมทดลองและกลุมควบคุมหลังเขารวมโปรแกรม การพฒันาหลกัสตูรสงิ่แวดลอมบนพนื้ทสี่งูของกลมุทดลอง แตกตางกนัอยางมนียัสำคญัทางสถติทิรี่ะดบั 0.05 กลาวคอื นกัศกึษา ทเ่ีขารวมโปรแกรมการพฒันาหลกัสตูรฯ มคีะแนนเฉลย่ีรวมทกุดานสงูขน้ึกวาเดมิและสงูกวานกัศกึษาทไ่ีมไดเขารวมโปรแกรมฯ สำหรับความพึงพอใจของนักศึกษากลุมทดลองตอการใชหลักสูตรฯ พบวา มีความพึงพอใจตอการเขารวมโปรแกรมการพัฒนา หลักสูตรฯ อยูในระดับมากที่สุด (X =4.25) ซึ่งอาจกลาวไดวา โปรแกรมการพัฒนาหลักสูตรสิ่งแวดลอมบนพื้นที่สูงที่ผูวิจัย สรางขึ้นเปนรูปแบบที่พัฒนาผูเรียนใหมีความรูความเขาใจ เกิดทัศนคติ และมีจิตสำนึกตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดังนั้นสามารถใชหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นนี้เรียนรูเรื่องสิ่งแวดลอมบนพื้นที่สูงไดเปนอยางดี
รายละเอียด: The objectives of this research were 1) to study the provisions and problems of highland environment of Chiang Dao and Chaiprakarn district in Chiang Mai Province 2) to develop highland environment curriculum for students of Chiang Dao and Chaiprakarn district in Chiang Mai Province and 3) to test and compare the learning achievement of highland environment for students of learning centers in Thai hill-tribe community and Office of the Non-formal and Informal Education in Chiang Dao districts for experimental group and Chaiprakarn districts for control group under Chiang Mai Provincial Office of the Non-formal and Informal Education. This testing was conducted by using qualitative research from document interview, community survey, interview and questionnaire for investigating problem conditions of highland environment and; respondents included, directors, teachers, officials, developer monks, community leaders and students. Tests also measured knowledge, attitudes and behavior for comparing learning achievement pre-test and post-test from primary students of learning centers in Thai hill-tribe community and Office of the Non-formal and Informal Education in Chiang Mai Province (highland) for second semester in academic year 2015, all included 15 districts with 5,237 students and selected Cluster random sampling with 2 districts which were Chiang Dao for experimental and Chaiprakarn for control group. Then used simple sampling by drawing lots in 2 districts for learning centers in Thai hill-tribe community and Office of the Non-formal and Informal Education in Chiang Mai Province both experimental group with 27 students and control group with 25 students. The satisfaction assessment to curriculum analyzed in data with content analysis from interview was performed based on percentage, mean, standard deviation and t-test independent for quantitative research. The research results showed that: 1. The provisions and problems of highland environment of Chiang Dao and Chaiprakarn districts of Chiang Mai are mostly come from forest and natural resource fertility, then there are environmentally unbalanced problems such as deforestation, forest expanding, forest burning, fog problem, damaged eco-system, hot weather, flood, drought, soil erosion, wildlife reduction and solid waste problem. Solution should be founded in education to cultivate consciousness to participate in the maintenance of the environment and natural resources. The survey of surroundings communities and factors affecting the problems revealed that development of a highland environmental curriculum and integrated cooperative model for maintenance should be the way forward. 2. The result of the highland environmental curriculum development project for students Under Chiang Mai Provincial Official of the Non-formal and Informal Education was the curriculum of 40 hours learning content and an experienced promotional activity 30 hours plan. The curriculum total 70 hours. 3. The results of testing and comparing students learning achievement (correctly and appropriately) were the average scores in terms of knowledge, attitude and behavior of both the experimental and control groups before and after participation different with a statistical significance at 0.05. That is, students participating in this program had higher in all parts of average scores than those of students who didn’t participate in the program. Additionally, the results of the experimental group’s satisfaction in the curriculum showed that students average were satisfied with participation of curriculum development program at highest level (X =4.25). It was said that the program of highland environment curriculum development made by the research was a sufficient model to develop students with knowledge, understanding, attitude and consciousness to the environment and natural resource. In conclusion, this curriculum can be used to teach highland environmental awareness for students.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/914
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
ภิญโญ คล้ายบวร และนรินทร์ชัย พัฒนพงศา.pdf1.64 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น