Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/741
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนุ่มมีศรี, สุรศักดิ์-
dc.contributor.authorคณะ-
dc.date.accessioned2017-12-14T06:27:09Z-
dc.date.available2017-12-14T06:27:09Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/741-
dc.descriptionThis research involved the Water resource management for consumption and water supply in Yuam Watershed, Mae hong Son Province.The main objective of this project was to study of the model and the pattern for rectifying water quality for consumption and regulation the proper pattern for this community also emphasizing to use the participatory action research. The result has shown The quantity of iron and Manganese in water from water was higher from standard value brought water couldn’t be used for daily life. In the section of study in pattern and way to improve the water quality which proper for water consumption of the people in this area consist of raising awareness and educating the community, mapping of water resources for consumption in the community, A survey of water resources for the consumer together, analysis of water quality in water used for consumption in the community, organizing a workshop about improving water quality and the community plans to improve water systems for the consumption and water supply. After operating all of these activities, the benefit-cost ratio (B/C ratio) considering in all of activities found that their B/C ratio higher than 1.0 each. This was shown that all activities provide benefits more than their costs.th_TH
dc.description.abstractโครงการวิจัยการจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภคในพื้นที่ ลุ่มน้ำยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อสร้างรูปแบบการจัดการทรัพยากรน้ำ เพื่อการอุปโภคและบริโภคที่มีความเหมาะสมกับชุมชนในพื้นที่ลุ่มน้ำยวม โดยใช้การวิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ผลการศึกษา พบว่า คุณภาพน้ำจากแหล่งน้ำในพื้นที่สามารถนำมาใช้ในการอุปโภคได้แต่ยังไม่สามารถนำมาใช้ในการบริโภคได้ทันที โดยคุณภาพน้ำที่เป็นปัญหามากที่สุด คือ ปริมาณเหล็กและแมงกานีส ซึ่งมีค่าเกินกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ในส่วนของรูปแบบการจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคที่เหมาะสมกับชุมชนประกอบด้วย การเพิ่มความตระหนักและความรู้ให้กับชุมชน การทำแผนที่แหล่งทรัพยากร น้ำสำหรับการอุปโภคบริโภคในชุมชนร่วมกัน การสำรวจแหล่งทรัพยากรน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคของหมู่บ้านร่วมกัน การตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำในชุมชนจากแหล่งน้ำที่ใช้ในการอุปโภคบริโภคในชุมชน การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำแบบต่างๆ และ การทำแผนชุมชนในการปรับปรุงระบบน้ำสำหรับการอุปโภคบริโภค ผลการดำเนินงานตามกิจกรรมดังกล่าว พบว่า เมื่อพิจารณาผลตอบแทนทางด้านเศรษฐศาสตร์ (B/C ratio) พบว่า ทุกกิจกรรมมีผลตอบแทนทางด้านเศรษฐศาสตร์มากกว่า 1แสดงให้เห็นว่าทุกกิจกรรมให้ผลประโยชน์มากกว่าต้นทุนth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)th_TH
dc.format.mediumapplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rights©มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.subjectการจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค ในพื้นที่ลุ่มน้ำยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอนth_TH
dc.titleการจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค ในพื้นที่ลุ่มน้ำยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอนth_TH
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover (ปก)387.75 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract (บทคัคย่อ)372.49 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)383.36 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter-1 (บทที่1)406.62 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter-2 (บทที่2)504.32 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter-3 (บทที่3)662.52 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter-4 (บทที่4)1.42 MBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter-5 (บทที่5)399.26 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdfBibliography (บรรณานุกรม)373.89 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix(ภาคผนวก)1.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.