Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/571
Title: การใช้กิจกรรมแนะแนวเพื่อเพิ่มแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2
Other Titles: Using of guidance activities to enhance students’ motive and academic achievement for secondary 2 school student
Authors: คำปัน, บุญเลิศ
และคณะ
Issue Date: 2556
Publisher: Chiang Mai Rajabhat University
Abstract: การวิจัยนี้มีจุดประสงค์ส าคัญ เพื่อศึกษาผลของการใช้กิจกรรมแนะแนวในการเพิ่ม แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความพึงพอใจในกิจกรรมแนะแนวฯของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประชากรเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ที่มาจาก 7 โรงเรียนในจังหวัดเชียงใหม่ที่เข้าร่วมการวิจัย ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ า (GPA ≤ 2.40) และมี แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับต่ าถึงปานกลาง (X ≤ 3.42) กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย นักเรียนโรงเรียนจอมทอง โรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ โรงเรียนหางดงรัฐราษฎร์อุปถัมภ์ โรงเรียน แม่แตง และโรงเรียนบ้านหนองไคร้ โรงละ 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 20 คน และกลุ่มควบคุม 20 คน และนักเรียนโรงเรียนแม่ออนวิทยาลัย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โรงละ 36 คน แบ่งเป็น กลุ่มทดลอง 18 คน และกลุ่มควบคุม 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) ชุดโปรแกรมแนะแนวเพื่อเพิ่มแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จ านวน 16 โปรแกรม 2) แบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4 รายวิชา (คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ) และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจในกิจกรรมแนะแนวฯ การวิเคราะห์ข้อมูลท าเป็นรายโรงเรียน สถิติที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือการวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปร (MANOVA) และสถิติพื้นฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มทดลองในโรงเรียนจอมทอง โรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ โรงเรียนแม่แตง โรงเรียนแม่ออนวิทยาลัย และโรงเรียนบ้านหนองไคร้ มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (F = .292, 18.268, 36.531, 16.665, 10,106, p < .01 ตามล าดับ) ในขณะที่โรงเรียนหางดงรัฐราษฎร์อุปถัมภ์ และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ก)แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม (F=5.31, .62, p>.01 ตามล าดับ) 2) กลุ่มทดลองในโรงเรียนจอมทอง โรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ และโรงเรียน แม่ออนวิทยาลัยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส าคัญทาง สถิติ (F=9.68, 40.46, 8.03, p<.01 ตามล าดับ) กลุ่มทดลองในโรงเรียนจอมทอง โรงเรียนนวมินทรา ชูทิศ พายัพ และโรงเรียนแม่ออนวิทยาลัยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ สูงกว่ากลุ่ม ควบคุมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (F=14.80, 36.90, 9.62, p<.01 ตามล าดับ) และกลุ่มทดลองใน โรงเรียนจอมทอง และโรงเรียนแม่แตงมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาภาษาอังกฤษ สูงกว่า กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (F=21.48, 10.09, p<.01 ตามล าดับ) 3) นักเรียนกลุ่มทดลองของทุกโรงเรียน มีความพึงพอใจในกิจกรรมแนะแนวฯภายหลังการ ทดลอง ระดับมาก ผู้วิจัยได้เสนอการผลวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ การใช้กิจกรรมแนะแนวฯของนักเรียนไว้ในงานวิจัยนี้
Description: The purposes of this study were to investigate the impact of use of guidance activities to enhance students’ motivation and academic achievement, and explore the students’ satisfaction with the guidance activities. Participants were drawn from each 7 Chiangmai province schools and included 8th grade students who had low academic achievement (GPA ≤ 2.40), and low to medium learning motivation (mean scores between 0.00 - 3.42), The participants in 5 schools (Chom Thong, Navamindarajudis Phayap, Hangdong Rathrath Upatham, Maetang, Bannongkrai) included 40 students each (20 experimental, 20 control) while 2 schools(Maeonwittayalai and ChiangMai University Demonstration) included 36 students (18 experimental, 18 control) The research instruments included 16 guidance activity programs, an achievement motivation questionnaire, four academic achievement tests (math, science, Thai, English), and a guidance satisfactory questionnaire. Comparisons of performance were analyzed using analysis of variance (ANOVA). Results reviewed that: 1) the experimental groups in Chom Thong, Navamindarajudis Phayap, aetang,Maeonwittayala, and Bannongkai school had higher achievement motivation compared to their respective control groups (, F=64.81, 18.27, 36.53, 16.67,10.12, p<.01 respectively), Hangdong Rathrath Upatham school and ChiangMai University Demonstration school were not different in achievement motivation between the experimental and control group (F=5.31,.62, p>.01 respectively); 2) the experimental group in Chom Tong had greater academic achievement compared to the control group in Mathematics (F=8.72, p<.01), the experimental groups in Chom Tong, Navamindarajudis Phayap and Maeonwittayalai had greater academic achievement compared to the control groups in Science (F=9.68, 40.46, 8.03, p<.01 respectively), the experimental group in Chom Tong, Navamindarajudis Phayap and Maeonwittayalai had greater academic achievement compared to the control groups in Thai (F=14.80, 36.90, 9.62, p<.01 respectively), and the experimental groups in Chom Tong and Maetang had greater academic achievement compared to the control groups in English (F=21.48, 10.09, p<.01 respectively); 3) all schools showed that the students in the experimental group were satisfied with the guidance program in which they participated. Problems with using the guidance activities and the students’ suggestions were also examined in this study
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/571
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
1ปก.pdf146.53 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdf310.23 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdf627 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf282.66 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf675.98 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdf657.26 kBAdobe PDFView/Open
Chaper4.pdf442.88 kBAdobe PDFView/Open
Chaper5.pdf434.95 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdf289.73 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdf206.03 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.