Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2010
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอทิตยา, ใจเตี้ย-
dc.date.accessioned2019-11-12T03:39:07Z-
dc.date.available2019-11-12T03:39:07Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2010-
dc.descriptionThe purpose of this study was to develop the quality of life activity of children with special needs learning for the giver. The number of sample size was 96 caregivers. And 11 stakeholder in the area of Suthep Municipality Muangchiangmai District, Chiangmai Province. Data were collected by using questionnaires and quality of life activity of children with special needs learning. Data were analyzed by descriptive statistics and content analysis. The learning prepared had an efficiency of E1 / E2 according to the set criteria of 80 /80 and paired t-test used for data analysis. The results indicated that quality of life activity of children with special needs learning for giver was on the modulate level (=1.82 ± 0.48). The score of stakeholder, s knowledge post-learning and the score of pre-learning were 80.16 / 84.20. The efficiency gain on each learning was specified at 80.00 / 80.00 percent (E1 / E2). Comparison of activity of children with special needs the post-learning achievement score was higher than the pre-learning score (p = .004).th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตเด็กที่มีความต้องการพิเศษ สำหรับผู้ดูแลเทศบาลตำบลสุเทพ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ดูแลเด็กที่มีความต้องการพิเศษ จำนวน 96 คน และผู้มีส่วนได้เสีย จำนวน 11 คน เครื่องมือเป็นแบบสอบถามสร้างเสริมคุณภาพชีวิตเด็กที่มีความต้องการพิเศษและชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตเด็กที่มีความต้องการพิเศษ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ส่วนการประเมินประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์กิจกรรมการเรียนรู้ใช้การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ร้อยละ 80 / 80 (E1 / E2) และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าคะแนนความรู้ก่อน- หลังด้วยการทดสอบค่า t แบบอิสระกัน (Pair t – test) ผลการศึกษาพบว่า การปฏิบัติตามบทบาทการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กที่มีความต้องการพิเศษของผู้ดูแลทุกด้านโดยรวมเฉลี่ยมีการปฏิบัติระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.82 ± 0.48) ประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มผู้ดูแลมีค่าคะแนนในการทำกิจกรรมระหว่างเรียน (E1) และผลของการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ (E2) เท่ากับ 80.16 / 84.20 ซึ่งสูงกว่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์ร้อยละ 80 / 80 (E1 / E2) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์กิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า ค่าคะแนนทดสอบความรู้เฉลี่ยหลังทดลองใช้กิจกรรมมีค่าสูงกว่าก่อนทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ .05 (p = .004)th_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)th_TH
dc.format.mediumApplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChiang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rights©CopyRights มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่th_TH
dc.subjectกิจกรรมการเรียนรู้th_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตth_TH
dc.subjectเด็กที่มีความต้องการพิเศษth_TH
dc.subjectLearning Activityth_TH
dc.subjectQuality of Lifeth_TH
dc.subjectChildren With Special Needsth_TH
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตเด็กที่มีความต้องการพิเศษ สำหรับผู้ดูแลเทศบาลตำบลสุเทพ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeA Development learning Activity of Children with Special Needs for Giver in Suthep Municipality Muangchiangmai District, Chiangmai Provinceth_TH
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover(ปก)445.75 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract(บทคัดย่อ)390.65 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)445.64 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter1(บทที่1)406.37 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter2(บทที่2)1.04 MBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter3(บทที่3)468.73 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter4(บทที่4)668.08 kBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter5(บทที่5)418.69 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdfBibiliography(บรรณานุกรม)452.27 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.