Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1923
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพราวพรรณ, อาสาสรรพกิจ-
dc.contributor.authorสุรศักดิ์, นุ่มมีศรี-
dc.date.accessioned2019-11-08T02:22:09Z-
dc.date.available2019-11-08T02:22:09Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1923-
dc.descriptionThis research entitles of An Integrated Knowledge Management for the Utilization of Biomass Converted to for Community in Mae Tang District, Chiang Mai Province. The main objective was to study the patterns in the management for the utilization of biomass converted to renewable energy for community. The result found that: Biomass that can be utilized by transforming into renewable energy in Mae Taeng district from 2 sources were biomass form pig farm and biomass form agriculture. The biomass form pig farm can be utilized by transform into biogas for using in the household. After improving the economy analyzed, the profit-making ability of this research which done for analyzing the activity model that could get the highest income and worth to the other expense concluded that B/C Ratio = 1.80. This activity can reduce household expenses 75-120 bath per month. The biomass form agriculture can be utilized by transform into heat for use in mushroom production process. After the economy analyzed, concluded that B/C Ratio = 2.78 showed that both the activity was a sustainable activity in the community.th_TH
dc.description.abstractโครงการวิจัยเรื่อง การจัดการความรู้การใช้ประโยชน์จากชีวมวลโดยการนำมาแปรสภาพเป็นพลังงานทดแทนในชุมชนอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นการดำเนินการวิจัยโดยใช้กิจกรรมต่างๆ ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อสร้างรูปแบบการการใช้ประโยชน์จากชีวมวลโดยการนำมาแปรสภาพเป็นพลังงานทดแทนในชุมชน ผลการศึกษา พบว่า แหล่งชีวมวลที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์โดยการนำมาแปรสภาพเป็นพลังงานทดแทนในชุมชนในพื้นที่อำเภอแม่แตง มาจาก 2 แหล่ง คือ ชีวมวลจากฟาร์มสุกรและชีวมวลที่เหลือจากการเกษตร เช่น ฟางข้าว กิ่งของลำไย โดยรูปแบบในการใช้ประโยชน์ชีวมวลจากฟาร์มสุกรมาเป็นแปรสภาพเป็นพลังงานทดแทน คือ ก๊าซชีวภาพในชุมชน โดยมีความคุ้มค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ (B/C Ratio) เท่ากับ 1.80 สามารถลดค่าใช้จ่ายค่าก๊าซหุงต้มในครัวเรือนได้เดือนละ 75-120 บาทในส่วนของรูปแบบใช้ประโยชน์จากชีวมวลที่เหลือจากการเกษตรโดยการนำแปรสภาพเป็นพลังงานทดแทนในกระบวนการผลิตเห็ด โดยมีความคุ้มค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ (B/C Ratio) เท่ากับ 2.78 แสดงว่าทั้ง 2 กิจกรรมเป็นกิจกรรมที่จะทำให้เกิดความยั่งยืนได้ในชุมชนth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)th_TH
dc.format.mediumApplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChiang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rights©CopyRights มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่th_TH
dc.subjectชีวมวลth_TH
dc.subjectพลังงานทดแทนth_TH
dc.subjectการจัดการความรู้th_TH
dc.subjectBiomassth_TH
dc.subjectRenewable Energyth_TH
dc.subjectKnowledge Managementth_TH
dc.titleการบูรณาการจัดการความรู้การใช้ประโยชน์จากชีวมวล โดยการนำมาแปรสภาพเป็นพลังงานทดแทนในชุมชนอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover(ปก)479.97 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract(บทคัดย่อ)391.83 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)481.19 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter1(บทที่ 1)440.26 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter2(บทที่ 2)757.72 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter3(บทที่ 3)877.82 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter4(บทที่ 4)1.28 MBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter5(บทที่ 5)420.92 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdfBibliography(บรรณานุกรม)409.26 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix(ภาคผนวก)771.1 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.