Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1436
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจิราภรณ์, ปุณยวัจน์พรกุล-
dc.date.accessioned2019-01-08T08:08:59Z-
dc.date.available2019-01-08T08:08:59Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1436-
dc.descriptionTwo main purposes of this research were (1) to improve the effectiveness of learning using activity-based tutorials (ABT) on projectile motion with high-speed video technique and (2) investigate the scientific understanding of Physics and General Science students, Chiang Mai Rajabaht University. Eighty students were divided into 2 groups of experimental and control groups using purposive sampling. Research tools consisted of scientific understanding subjective test on projectile motion, activity-based tutorials with high speed video technique for experimental group, and independent study for the control group. Mean, percentage, and normalized gain were used for statistical analysis. Higher normalized gain values, , ranging from 0.24 to 0.95 of the experimental group than those of the control group, ranging from 0.06 to 0.75 was found.th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวคิดวิทยาศาสตร์ด้วยกิจกรรมเสริมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ของวัตถุ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์วิดีโอความเร็วสูง และสำรวจแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาครุศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาฟิสิกส์และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ที่เลือกแบบเจาะจงจำนวน 80 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบอัตนัยเพื่อวัดแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ กิจกรรมเสริมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์วิดีโอความเร็วสูงสำหรับกลุ่มทดลอง และกิจกรรมการศึกษาอย่างอิสระสำหรับกลุ่มควบคุม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ผลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และค่าความก้าวหน้าทางการเรียน (normalized gain, ) ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มทดลองที่เสริมแนวคิดวิทยาศาสตร์ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์วิดีโอความเร็วสูงสามารถใช้แนวคิดทางวิทยาศาสตร์อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์เพิ่มขึ้นจากจำนวนเฉลี่ยประมาณร้อยละ 12 เป็นร้อยละ 69 มีความก้าวหน้าทางการเรียนอยู่ระหว่าง 0.24-0.95 มากกว่ากลุ่มควบคุมที่ศึกษาอย่างอิสระนอกห้องเรียนที่พบความก้าวหน้าทางการเรียนอยู่ระหว่าง 0.06 – 0.75th_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) มหาวิทยาลยัราชภฏัเชยีงใหม่th_TH
dc.format.mediumApplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChiang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rights@CopyRights มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.subjectแนวคิดทางวิทยาศาสตร์th_TH
dc.subjectกิจกรรมเสริมการเรียนรู้th_TH
dc.subjectเทคนิคการวิเคราะห์วิดีโอความเร็วสูงth_TH
dc.subjectการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์th_TH
dc.subjectความก้าวหน้าทางการเรียนth_TH
dc.subjectScientific Understandingth_TH
dc.subjectActivity-Based Tutorialsth_TH
dc.subjectProjectile Motionth_TH
dc.subjectHigh Speed Techniqueth_TH
dc.subjectNormalized Gainth_TH
dc.titleการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ของวัตถุเม็ดเพื่อในการเรียนการสอนวิชาฟิสิกส์ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeProjectile motion of granular particle using for Physics learning in Chiang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover675.09 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract536.64 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent614.31 kBAdobe PDFView/Open
Chapter 1.pdfChapter 1547.17 kBAdobe PDFView/Open
Chapter 2.pdfChapter 2879.53 kBAdobe PDFView/Open
Chapter 3.pdfChapter 31.21 MBAdobe PDFView/Open
Chapter 4.pdfChapter 41.52 MBAdobe PDFView/Open
Chapter 5.pdfChapter 5558.97 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdfBibliography545.06 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix5.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.