Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/972
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนิลวรรณ, เดชวิทย์-
dc.contributor.authorบุญมี, ธวัชชัย-
dc.contributor.authorธาราพิทักษ์วงศ์, ศุภฤกษ์-
dc.contributor.authorอ้วนสอาด, สุวลักษณ์-
dc.contributor.authorสุวรรณอาสน์, พุทธมน-
dc.contributor.authorบุญมาประเสริฐ, เติมพันธ์-
dc.date.accessioned2018-01-28T11:25:38Z-
dc.date.available2018-01-28T11:25:38Z-
dc.date.issued2561-01-28-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/972-
dc.descriptionThe study of knowledge management to develop the community business of Ban Dok-Dang Sewing Group, Doi-Saket District, Chiang Mai was to investigate problems, needs, patterns and potentials of Ban Dok-Dang Sewing Group through knowledge management as a guideline to develop and participatory management to develop patterns of business management for Ban Dok-Dang Sewing Group. The research plan was divided into fi ve aspects: group management, marketing, production, fi nancial accounting and marketing communications. The data were collected through villagers’ forums, interviews, small-group discussion, providing supplementary lessons, writing mind mapping, consumer surveys, group activities and questionnaires. The results revealed that patterns of business management were not clear, marketing did not meet target groups, products focused on lower market and fi nancial transaction records were not correct. Providing supplementary lessons concerning business administration skills of participatory management helped the group develop a clear management structure, have a concrete marketing plan, develop marketing media and products for new target groups and record appropriate fi nancial transactions for the group. Furthermore, the group could establish Ban Dok-Dang Sewing Group learning Center. That showed the group potentials obviously.th_TH
dc.description.abstractการศึกษาการจัดการความรู้ เพื่อพัฒนาธุรกิจชุมชน กลุ่มตัดเย็บบ้านดอกแดง ตำบลสง่าบ้าน อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เป็นการศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการ รูปแบบ และศักยภาพของกลุ่มตัดเย็บบ้านดอกแดง ใช้การจัดการความรู้เป็นแนวทางในการพัฒนาธุรกิจชุมชน และใช้การจัดการแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนารูปแบบ การบริหารงานเชิงธุรกิจให้แก่กลุ่มตัดเย็บบ้านดอกแดง ซึ่งแผนงานการวิจัยนี้แบ่งการพัฒนาออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ การบริหารจัดการกลุ่ม การตลาด การผลิต การเงินบัญชี และการสื่อสารการตลาด โดยมีการดำเนินการจัดเวที ชาวบ้าน สัมภาษณ์ ประชุมกลุ่มย่อย การให้ความรู้ การเขียนผังความคิด การสำรวจผู้บริโภค กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ และการใช้แบบสอบถาม พบว่า กลุ่มตัดเย็บบ้านดอกแดงมีปัญหาเกี่ยวกับรูปแบบการบริหารงานในเชิงธุรกิจ ยังไม่ชัดเจน การตลาดไม่ตรงกลุ่มเป้าหมาย ผลิตภัณฑ์เน้นตลาดระดับล่าง และการบันทึกรายการทางการเงิน ไม่ถูกต้อง จากการดำเนินกิจกรรมการจัดการความรู้ด้วยการเสริมความรู้ทางการบริหารธุรกิจ และเสริมทักษะในการ จัดการแบบมีส่วนร่วม ทำให้กลุ่มมีการพัฒนารูปแบบในการดำเนินงานที่มีโครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจน มีแผน การตลาดที่เป็นรูปธรรม มีการพัฒนาสื่อทางการตลาด มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อเข้าสู่กลุ่มเป้าหมายใหม่ และมีการ บันทึกรายการทางการเงินที่เหมาะสมกับกลุ่ม จนกลุ่มสามารถจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้กลุ่มตัดเย็บบ้านดอกแดง ได้สำเร็จ แสดงถึงศักยภาพของกลุ่มได้อย่างชัดเจนth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่th_TH
dc.subjectธุรกิจชุมชนth_TH
dc.subjectการจัดการความรู้th_TH
dc.subjectบ้านดอกแดงth_TH
dc.subjectCommunity Businessth_TH
dc.subjectBan Dok-Dangth_TH
dc.subjectKnowledge Managementth_TH
dc.titleการจัดการความรู้ เพื่อพัฒนาธุรกิจชุมชน กลุ่มตัดเย็บบ้านดอกแดง ตำบลสง่าบ้าน อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.typeJournalth_TH
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.