Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/925
Title: การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสื่อการจัดการเรียนรู้ โดยบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตในชุมชน
Other Titles: PARTICIPATORY ACTION RESEARCH IN DEVELOPING THE INSTRUCTIONAL MEDIA BY INTEGRATING LOCAL WISDOM WITH THE WAYS OF LIFE IN LOCAL COMMUNITIES
Authors: แสนใจพรม, สายฝน
Keywords: การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
สื่อการจัดการเรียนรู้
ภูมิปญญาทองถิ่น
Action Research
Instructional Media
Local Wisdoms
Issue Date: 26-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการมีสวนรวมของชุมชนและศึกษาผลการใชกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ แบบมีสวนรวมในการพัฒนาสื่อการจัดการเรียนร ูโดยบูรณาการภูมิปญญาทองถิ่นที่สอดคลองกับวิถีชีวิตของชุมชนในอําเภอ ดอยสะเกด็ จังหวัดเชียงใหม เครื่องมือที่ใชในการวจิยั ไดแก แบบสังเกต แบบสัมภาษณ และแนวคําถามการระดมสมอง วิเคราะห ขอมูลโดยการวิเคราะหเนื้อหา ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้ 1. ผมูสีวนรวมในการสรางสื่อการจัดการเรียนรูประกอบดวย 3 ฝาย คอื ฝายชุมชน ฝายสถานศึกษา และฝายมหาวิทยาลยั ราชภัฏเชียงใหม การมสีวนรวมของฝายชุมชน ไดแก การรวมระดมความคดิ การใหขอมูลเกี่ยวกับภมูปิญญาทองถนิ่ การรวมสราง สื่อการจัดการเรียนรู และการวิพากษสื่อการจัดการเรียนรู ฝายสถานศึกษามสีวนรวมในการจัดสรางและนําสื่อการจัดการเรียนรู ไปทดลองใช สวนฝายมหาวิทยาลัยมีสวนรวมในการจัดสราง กํากับติดตามการดําเนินงานใหบรรลุเปาหมาย 2. โรงเรียนและชุมชนไดสื่อการจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับบริบทและวิถีชีวิตของชุมชน จํานวน 2 ชุด คือ 1) การทํานาโบราณบานรองขี้เหล็ก 2) วิถีไทลื้อ 3. ชนรุ่นหลังในชุมชนเกิดความภาคภูมิใจในภูมิปญญาของตนเอง และภูมิปญญาของชุมชนไดรับการอนุรักษและ สืบสานตอจากการนําสื่อไปใชในการจัดการเรียนรู
Description: The aim for this research was to study the participation of community and investigate the effects of facilitating participatory action research to develop the instructional media by means of integrating local wisdom in accordance with ways of life in local communities in Doisaket district, Chiang Mai province. The research instruments were observation, questionnaire, and brainstorming guidelines question. Qualitative data was analyzed using content analysis. The research findings were summarized as follows. 1. The participation of the communities involved brainstorming, providing local wisdom data, creating and criticizing the media based on learning management. The participation of the two educational institutions involved creating and implementing the media. The participation of the university involved creating, supervising, and monitoring all the processes in order to achieve the goal. 2. From conducting the research, the two sets of media were created in accordance with the contexts and ways of life in local communities. The first set was produced in the aspect of ancient rice farming available in the area of Banrongkheelek community. The second one was made in the aspect of Tai Lue ways of life. 3. New generations pride in their own local wisdom. The local wisdom have been preserved and continue to learn from the instructional media.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/925
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
สายฝน แสนใจพรม.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.