กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/910
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมการผลิตผักพื้นบ้านด้วยระบบพืชปลอดภัย ร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตรสำหรับผู้สูงอายุ
ชื่อเรื่องอื่นๆ: THE DEVELOPMENT OF THE TRAINING COURSE CURRICULUM IN INDIGENOUS VEGETABLE PRODUCTION BASE ON PESTICIDE-FREE VEGETABLE PRODUCTION SYSTEM AND LOCAL WISDOM IN AGRICULTURE FOR ELDERLY
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: แกวแดง, กานตชัญญา
คำสำคัญ: หลักสูตรการฝกอบรม
การผลิตผักพื้นบาน
ผูสูงอายุ
Training Courses
Elderly
Indigenous Vegetables Production
วันที่เผยแพร่: 26-มกร-2561
สำนักพิมพ์: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาและทดสอบหลักสูตรการฝกอบรมการผลิตผักพื้นบานดวยระบบพืชปลอดภัย รวมกับภูมิปญญาทองถิ่นดานการเกษตรสำหรับผูสูงอายุ กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก ผูสูงอายุเขตเทศบาลเมือง เมืองแกนพัฒนา อำเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม จำนวน 12 คน เก็บรวบรวมขอมูลดวยการสัมภาษณแบบไมเปนทางการ การสนทนากลุม และแบบทดสอบความรู วิเคราะหขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกณฑ E1/E2 (80/80) และสถิติทดสอบ paired t-test และการวิเคราะหเชิงเนื้อหา ผลการศึกษา พบวา การผลิตผักพื้นบานดวยระบบ พืชปลอดภัยควรเสริมดานความรูดวยการแลกเปลี่ยนประสบการณบนฐานกฎ กติกา และแนวคิดภูมิปญญาพื้นบาน ดานการเกษตร ประสิทธิภาพของหลักสูตรการฝกอบรมมีคาคะแนนความรูระหวางการฝกอบรม (E1) และความรูหลังการใช กิจกรรมการฝกอบรม (E2) เทากับ 81.48/89.56 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์หลังทดลองใชหลักสูตรการฝกอบรมมีคาคะแนน สูงกวากอนทดลองใชหลักสูตรการฝกอบรมอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้ผูสูงอายุไดเสนอแนะการพัฒนา แหลงเรียนรูดานการเกษตรในพื้นที่สูการเสริมสรางอาชีพที่เหมาะสมกับวัย
รายละเอียด: The purpose of this study was to develop and efficiency assessment of the training course curriculum in indigenous vegetable production base on pesticide-free vegetable production system and local wisdom in agriculture for elderly. 12 elderly in the area of Muang Khaen Municipality Maetang District, Chiang Mai Province. Data were collected by using and in-depth interview, group discussion and questionnaires. The training course curriculum prepared had efficiency of E1/E2 according to the set criteria of 80/80, Mean, Standard deviation, paired t-test and content analysis were used for data analysis. The results found that pesticide-free vegetables product must provide body of knowledge, provide experience exchange activities and community rules on the concept of the agriculture of wisdom. The efficiency assessment of the training course curriculum were 81.48/89.56. Comparison of the training course curriculum the post-earning achievement score was higher than the pre-learning score at the 0.05 significant levels. In concluding, elderly suggested that to created the development of agriculture learning sources to occupation that is appropriate for their age.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/910
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
กานต์ชัญญา แก้วแดง.pdf1.6 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น