Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/623
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสมยานะ, วีระศักดิ์-
dc.date.accessioned2017-12-07T02:56:14Z-
dc.date.available2017-12-07T02:56:14Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/623-
dc.descriptionThe main objective of learning management to develop the socio-economic of rural and urban areas in Chiang Mai in 2009 was to apply learning management process to integrate the research work with participatory action research and work with local administrative organizations and groups of communities. It started from creating and developing the potential capacity of local researchers for operation based on socio-economic strategic plans and also increase the potential capacity of people in the communities through the four steps of learning management process composed of 1) unknown but develop to be 2) awareness; 3) imitation and 4) learning .Every process of learning management used participatory communication and integrated the communication of every party. As a result, this could make the achievement of the operation for creating the value added of community’s assets management by communities. The study was that it could create and develop the potential capacity of 58 researchers and also increased the potential capacity of people in the communities for enhancing the socio-economic of communities. In addition, 32 community developmental plans in economic and 26 community developmental plans in society are created. All of these plans were applied to operate and obviously make the achievement for the socio-economic of the local communities. It could create and increase the value added of community assets more efficiently and effectively for 52% and 61% respectively. The result from community development was brought to produce the creative public relations of media and this reflected the operation to develop communities by learning management with local people. As a result, it reflected to other communities to see the model to develop the public relations of media from research and motivate people to take part in developing their communities sustainable.th_TH
dc.description.abstractโครงการวิจัยเรื่อง “การจัดการการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของภาคชนบทและชุมชนเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2552” มีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้กระบวนการจัดการการเรียนรู้ (Leaning Management: LM) ในการบูรณาการงานวิจัยด้วยกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมกับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นและกลุ่มชุมชน (PAR) โดยเริ่มจากการสร้างและพัฒนานักวิจัยท้องถิ่นให้มีศักยภาพในการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน พร้อมทั้งเพิ่มศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ (กลุ่มบุคคลในชุมชน) ในการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ผ่านกระบวนการพัฒนาการจัดการการเรียนรู้ 4 ลำดับขั้น โดยเริ่มจาก 1) การไม่รู้ พัฒนาไปสู่ 2) การรับรู้ และเป็น 3) การเลียนแบบหรือการ เลียนรู้ จนกระทั่งพัฒนาไปเป็น 4) การเรียนรู้ ซึ่งทุกกระบวนการของการจัดการการเรียนรู้ (LM) ได้อาศัยการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม และบูรณาการการสื่อสารในทุกภาคส่วนอย่างสร้างสรรค์ จนเกิดผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานที่แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของชุมชนในการสร้างมูลค่าของการจัดการทรัพยากรชุมชน(สินทรัพย์ชุมชน) ด้วยชุมชน ผลการวิจัยสามารถสร้างและพัฒนาศักยภาพของนักวิจัยท้องถิ่นได้ ทั้งสิ้น 58 คน พร้อมทั้งเพิ่มศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ (กลุ่มคนในชุมชน) ต่อการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน ด้วยการจัดการการเรียนรู้ในการสร้างแผนพัฒนาชุมชนของท้องถิ่น ทั้งสิ้น 2 ด้าน คือ แผนพัฒนาชุมชนด้านเศรษฐกิจ จำนวน 32 แผน และแผนพัฒนาด้านสังคม จำนวน 26 แผน โดยแผนชุมชนดังกล่าวได้ถูกนำไปปรับใช้จริงกับชุมชนในท้องถิ่น จนเกิดผลสัมฤทธิ์ของการวิจัยในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นอย่างเป็นรูปธรรม ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มของการจัดการการเรียนรู้สินทรัพย์ชุมชนที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้นจากเดิมถึง ร้อยละ 52 และ 61 ตามลำดับ ผลของการพัฒนาชุมชนได้ถูกนำไปผลิตเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ที่มีความสร้างสรรค์ และสะท้อนให้เห็นถึงการดำเนินงานในการพัฒนาท้องถิ่น ด้วยการจัดการการเรียนรู้ร่วมกับคนในท้องถิ่นอย่างแท้จริง จึงเป็นการสะท้อนให้ชุมชนอื่นได้เห็นต้นแบบของการพัฒนาจากสื่อประชาสัมพันธ์ของการวิจัย และการกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมกับแนวทางการพัฒนาชุมชนให้เกิดความเข้มแข็ง และยั่งยืนอย่างแท้จริงต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.format.mediumApplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChiang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rights©มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.subjectการจัดการการเรียนรู้เพื่อพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมth_TH
dc.subjectภาคชนบทและชุมชนเมืองจังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.titleการจัดการการเรียนรู้เพื่อพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม ของภาคชนบทและชุมชนเมืองจังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover457.44 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract428.47 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent704.11 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-1.pdfChapter-1731.86 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-2.pdfChapter-21.34 MBAdobe PDFView/Open
Chapter-3.pdfChapter-3888.99 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-4.pdfChapter-41.07 MBAdobe PDFView/Open
Chapter-5.pdfChapter-51.21 MBAdobe PDFView/Open
Chapter-6.pdfChapter-6558.37 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdfBibliography511.32 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix1.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.