Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2261
Title: การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดดิจิทัลสำหรับผลิตภัณฑ์ชุมชนของ หมู่บ้าน ป่าสักงาม ต. ลวงเหนือ อ. ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
Authors: อาษากิจ, ์เจนจิรา
Keywords: ผลิตภัณฑ์ชุมชน การจัดการกลยุทธ์ทางการตลาด กลยุทธ์ทางการตลาด การตลาดดิจิทัล
Local Community Products, Digital Marketing Strategies, Marketing Management, Digital Marketing
Publisher: Chiang Mai Rajabhat University
Abstract: This research study aimed 1) To study the marketing management system and the need of local community products of Pasakngam Village, Luang Nuea Subdistrict, Doi Saket District, Chiang Mai, and 2) To analyze and develop a community product digital marketing strategy model of Pasakngam Village, Luang Nuea Sub-district, Doi Saket District, Chiang Mai. This research used participatory action to study problems and current phenomena regarding local products in Pasakngam Village, public hearings, a focus group consisting of 32 people from the village, semi-structured interviews with leaders of the village and the leaders of local product groups, and a survey conducted with 215 customers and tourists who visited Pasakngam Village. In addition, there were the participatory workshop on the digital marketing strategies, and a local conference. The main points of this study can be summarized as follows: 1. Regarding the marketing management system of Pasakngam community products and the demand for community products, it was found that there were Facebook pages of Pa Sakngam community that have been created by community members but lacked of supervision. There should be new content and interesting news and information about the community and the local products. Moreover, there was no management system and marketing strategy for community products or public relations plans for the Pasakngam community. Selling goods and services activities was in accordance with the current situation. As a result, villagers in the community who made their living by community products were affected by the situation of the Coronavirus (Covid-19) which caused the decreased in their average income from the sale of community products or not able to sell at all. Regarding the demand for Pasakngam community products, it was found that tourists visiting Pasakngam Village and the Ruam Jai Bridge area tended to spend less on purchasing community products. 2. Analysis and development of digital marketing strategies of Pasakngam village community products, workshops were organized to transfer knowledge of digital marketing including online marketing using the RACE model that consists of reach, act, convert, and engage of the Pasakngam community and products of the Pasakngam community. The digital marketing operation consisted of creating and uploading promotional videos through YouTube channels and publishing them through the existing Facebook page to promote tourist attractions in the Pasakngam community and to stimulate awareness and to plan digital marketing strategy using the existing Facebook page social media strategy.
Description: งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบการจัดการทางการตลาดและความต้องการ ผลิตภัณฑ์ชุมชน หมู่บ้านป่าสักงาม ต.ลวงเหนือ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ และเพื่อวิเคราะห์และ พัฒนารูปแบบกลยุทธ์การตลาดดิจิทัลของผลิตภัณฑ์ชุมชนของหมู่บ้านป่าสักงาม ต.ลวงเหนือ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ประกอบไปด้วยระบบการจัดการทางการตลาด และความต้องการผลิตภัณฑ์ชุมชน จากกลุ่มชาวบ้านชุมชนป่าสักงาม การสนทนากลุ่ม จากชาวบ้าน ป่าสักงามจ านวน 32 คน การสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง กับผู้น าชุมชนและผู้น ากลุ่มผลิตภัณฑ์ ชุมชนป่าสักงาม รวมถึงการท าแบบส ารวจปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเข้ามาท่องเที่ยวและการซื้อสินค้า และผลิตภัณฑ์ชุมชนป่าสักงาม จากกลุ่มนักท่องเที่ยวจ านวน 215 คน การจัดกิจกรรมประชุมเชิง ปฏิบัติการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน การท ากิจกรรมการตลาด และการจัดประชุมเสนอผลการวิจัย โดยการวิเคราะห์เนื้อหาและสรุปผลการด าเนินงานตามวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. ด้านระบบการจัดการทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ชุมชนป่าสักงามและความต้องการ ผลิตภัณฑ์ชุมชน พบว่าผลิตภัณฑ์ชุมชนป่าสักงาม รวมถึงชุมชนป่าสักงาม มีเพจเฟสบุ๊คของชุมชนที่ได้ มีสมาชิกชุมชนจัดทำขึ้นแต่ขาดการดูแล ซึ่งควรมีการทำคอนเทนท์ใหม่ๆ และน่าสนใจให้มีข่าวสารอยู่ เสมอ รวมทั้งไม่มีระบบการจัดการและแผนกลยุทธ์การท าการตลาดส าหรับผลิตภัณฑ์ชุมชนหรือ แผนการประชาสัมพันธ์ชุมชนป่าสักงาม การท ากิจกรรมการขายสินค้าและบริการเป็นการปล่อยให้ เป็นไปตามกลไกลทางสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งส่งผลท าให้ชาวบ้านในชุมชนที่ประกอบอาชีพการท า ผลิตภัณฑ์ชุมชนได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ไวรัสโคโรน่า โควิด-19 ที่ท าให้รายได้จากการขาย ผลิตภัณฑ์ชุมชนลดลงหรือขายไม่ได้เลย ทางด้านความต้องการผลิตภัณฑ์ชุมชนป่าสักงาม พบว่า นักท่องเที่ยวที่เข้ามาท่องเที่ยวในหมู่บ้านป่าสักงามและบริเวณสะพานร่วมใจมีแนวโน้มในการใช้จ่าย เพื่อซื้อผลิตภัณฑ์ชุมชนลดลง 2. การวิเคราะห์และพัฒนารูปแบบกลยุทธ์การตลาดดิจิทัลของผลิตภัณฑ์ชุมชนหมู่บ้าน ป่าสักงาม ได้มีการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดความรู้การท าการตลาดดิจิทัล รวมถึงการ ร่วมกันวางแผนการทำการตลาดออนไลน์ โดยใช้โมเดล RACE ที่ประกอบไปด้วย การสร้างเข้าถึง การสร้างการมองเห็น การสร้างสมาชิก และการสร้างการมีส่วนร่วม ซึ่งประกอบไปด้วยการสร้างสื่อ การประชาสัมพันธ์ชุมชนป่าสักงามและผลิตภัณฑ์ชุมชนป่าสักงาม การการอัพโหลดวีดิโอ ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางยูทูป และการประชาสัมพันธ์ผ่านเพจเฟสบุ๊คที่มีอยู่เดิมเพื่อเป็นการ ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวในชุมชนป่าสักงามและกระตุ้นการรับรู้และได้ทำการวางแผนกลยุทธ์ ทางการตลาดดิจิทัลโดยใช้กลยุทธ์การโซเชียลมีเดียเพจเฟสบุ๊คที่มีอยู่แล้วให้เป็นประโยชน์
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2261
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.pdfAbstract (บทคัดย่อ)90.74 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix (ภาคผนวก)2.63 MBAdobe PDFView/Open
Bibiliography.pdfBibiliography (บรรณานุกรม)103.26 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter1 (บทที่1)724.95 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter2 (บทที่2)474.53 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter3 (บทที่3)189.15 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter4 (บทที่4)1.45 MBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter5 (บทที่5)98.94 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)88.16 kBAdobe PDFView/Open
Cover.pdfCover(ปก)106.84 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.