Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2182
Title: พัฒนาวิถีสมุนไพรของกลุ่มชาติพันธุ์เพื่อยกระดับชุมชนอย่างยั่งยืน
Other Titles: Develop the herbal way of ethnic groups to enhance communities sustainably
Authors: วิชิต, นริศรา
ทะพิงค์แก, ธัญญา
Wichit, Narisara
Thapingae, Tanya
Keywords: สมุนไพร
ฟีนอลิก
ฟลาโวนอยด์
สารต้านอนุมูลอิสระ
Publisher: Chiang Mai Rajabhat University
Abstract: According to a survey of medicinal plants from Mae Na Subdistrict, Chiang Dao District, Chiang Mai Province, there were 3 villages where herbs were used to make herbal medicines for sale: PangMao Village. Mae Mae Village and San Pa Kien Village, which are formulated as 11 medicinal plants, were found to contain important compounds. as follows Most herbs are low in phenolic compounds. The top five species with the highest phenolic content, namely pha va, fish scales, tiger scales, mare kam and cinnamon, had the average phenolic content of 2.63, 2.04, 2.00, 1.34 and 1.29. GEA milligrams per liter, respectively, after the herbs were treated with spray drying. It was found that the content of phenolic compounds was reduced, with the top five species with the highest phenolic compounds, namely cinnamon, vines, fish scales, pha Phaya Phaya Tiger, and northern chili. The mean phenolic content was 0.38, 0.22, 0.16, 0.12 and 0.12 mg GEA per liter, respectively. Mean flavonoids analysis of herbs Most herbs are low in flavonoids. The top five species with the highest flavonoids content, namely Do Mai Mi, cinnamon, vines, fish scales, northern rice head and Mae Kam horse, had mean flavonoid content of 0.09, 0.08, 0.04, 0.04 and 0.03 mg. After taking the herbs through the spray drying process. It was found that the content of flavonoid compounds was reduced with the top five species with the highest flavonoid compounds, namely, phalaenopsis, fish scales, ง cinnamon, and tiger. The mean flavonoids were 0.04, 0.03, 0.03, 0.02 and 0.01 mg respectively. Analysis of the average antioxidant capacity of herbs Most herbs are low in antioxidants. The top five types with the highest antioxidant content were white rice head, North yellow hak, power bantam, and fish scale vine. The average antioxidant content was 54.93%, 52.42, 50.76, 48.13 and 47.65, respectively. After the herbs were sprayed drying. It was found that the amount of most antioxidants increased. The top five types with the highest antioxidants were Ho, Saphan Kwai, Phaya, Suea, Haak, Yellow Haak, Northern Khao Yae, and Mae Kam horse with an average antioxidant content of 54.29%, 53.50, 53.34, 51.46 and 51.38%, respectively.
Description: จากการสำรวจพืชสมุนไพรจากต าบลแม่นะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ พบว่ามี 3 หมู่บ้าน ที่มีการน าสมุนไพรมาจัดชุดท าเป็นยาสมุนไพรขาย คือ หมู่บ้านปางมะโอ หมู่บ้านแม่แมะ และหมู่บ้านสัน ป่าเกี๊ยะ ซึ่งมีสูตรเป็นพืชสมุนไพรจ านวน 11 ชนิด ซึ่งพบว่ามีสารประกอบที่ส าคัญ ดังนี้ สมุนไพรส่วนมากให้สารประกอบฟีนอลิกต่ า โดยชนิดที่มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกสูงที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ จักค่านผา เถาเกล็ดปลา พญาเสือโคร่ง ม้าแม่ก่ า และอบเชย มีปริมาณฟีนอลิกเฉลี่ย เท่ากับ 2.63, 2.04, 2.00, 1.34 และ 1.29 มิลลิกรัม GEA ต่อลิตร ตามล าดับ หลังจากน าสมุนไพรมา ผ่านกระบวนการอบแห้งแบบพ่นฝอย พบว่าปริมาณสารประกอบฟีนอลิก มีค่าลดลง โดยชนิดที่มี สารประกอบฟีนอลิกสูงที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ อบเชย เถาเกล็ดปลา จักค่านผา พญาเสือโคร่ง และหัว ข้าวเย็นเหนือ มีปริมาณฟีนอลิกเฉลี่ยเท่ากับ 0.38, 0.22, 0.16, 0.12 และ 0.12 มิลลิกรัม GEA ต่อลิตร ตามล าดับ การวิเคราะห์ฟลาโวนอยด์เฉลี่ยของสมุนไพร สมุนไพรส่วนมากให้สารประกอบฟลาโวนอยด์ต่ า โดยชนิดที่มีปริมาณสารประกอบฟลาโวนอยด์สูงที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ โด่ไม่รู้ล้ม อบเชย เถาเกล็ดปลา หัวข้าวเย็นเหนือ และม้าแม่ก่ า มีปริมาณฟลาโวนอยด์เฉลี่ยเท่ากับ 0.09, 0.08, 0.04, 0.04 และ 0.03 มิลลิกรัม ตามล าดับ หลังจากน าสมุนไพรมาผ่านกระบวนการอบแห้งแบบพ่นฝอย พบว่าปริมาณ สารประกอบฟลาโวนอยด์ มีค่าลดลง โดยชนิดที่มีสารประกอบฟลาโวนอยด์สูงที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ จักค่านผา เถาเกล็ดปลา อบเชย โด่ไม่รู้ล้ม และพญาเสือโคร่ง มีปริมาณฟลาโวนอยด์เฉลี่ยเท่ากับ 0.04, 0.03, 0.03, 0.02 และ 0.01 มิลลิกรัม ตามล าดับ การวิเคราะห์ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระเฉลี่ยของสมุนไพร สมุนไพรส่วนมากให้สาร ต้านอนุมูลอิสระต่ า โดยชนิดที่มีปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ หัวข้าวเย็นเหนือ ฮากเหลือง ก าลังไก่แจ้ เลือดไน่ และเถาเกล็ดปลา มีปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 54.93, 52.42, 50.76, 48.13 และ 47.65 ตามล าดับ หลังจากน าสมุนไพรมาผ่านกระบวนการอบแห้งข แบบพ่นฝอย พบว่าปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระส่วนใหญ่มีค่าเพิ่มขึ้น โดยชนิดที่มีสารต้านอนุมูลอิสระสูง ที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ ฮ้อสะพานควาย พญาเสือโคร่ง ฮากเหลือง หัวข้าวเย็นเหนือ และม้าแม่ก่ า มี ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 54.29, 53.50, 53.34, 51.46 และ 51.38 ตามล าดับ
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2182
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover(ปก)116.02 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract (บทคัดย่อ)140.96 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)63.12 kBAdobe PDFView/Open
Chaptet1.pdfChapter1 (บทที่1)69.55 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter3 (บทที่3)70.91 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter4 (บทที่4)137.28 kBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter5 (บทที่5)63.49 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter2 (บทที่2)166.6 kBAdobe PDFView/Open
Bibiliography.pdfBibiliography (บรรณานุกรม)109.04 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.