Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1425
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบุญเลิศ, คำปัน-
dc.contributor.authorญาณินท์, คุณา-
dc.date.accessioned2019-01-08T07:41:01Z-
dc.date.available2019-01-08T07:41:01Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1425-
dc.descriptionThis research objectives were: 1) To study the problems and the needs of counseling for the adolescents in critical situation, 2) To develop the advisors counseling skills for adolescents in critical situation. The subjects included of 12 advisors from 4 secondary schools in Mae Rim District and their 25 risky behavior students in Academic year 2017. Each advisors purposive selected two to three risky students in one’s own classroom. The instruments were Thai Youth Checklist (TYC), Suanprung Stress Test-20 (SPST-20), the survey of needs of counseling in critical situation, and the evaluation form for counseling training. The data were analyzed by frequency, mean, standard deviation, percentage, Pearson Correlation and the t-test. The results were as follow: 1) The behavior problems of the adolescents according to TYC were in clinical range in both male and female (means = 59.00, 59.25). 2) The level of stress of the adolescents was high in average (mean = 41.56). 3) There was a positive relationship between the behavior problems and the stress of the adolescents at .01 level of significance. 4) The adolescents needed a high to highest level of counseling in critical situation in overall with 96.80 %. When being in crisis, the adolescents chose to consult with their parents first, advisors and peers second, and guidance teacher third. 5) All advisors’ counseling skills for adolescents in critical situation after the training were significantly higher than those before the training at .01 level of significance.th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาปัญหาและความต้องการด้านบริการปรึกษาของวัยรุ่น ที่อยู่ในภาวะวิกฤต 2) เพื่อพัฒนาทักษะการให้บริการปรึกษาวัยรุ่นที่อยู่ในภาวะวิกฤตให้แก่ครูผู้ใหบ้ริการ ปรึกษา กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูที่ปรึกษากลุ่มโรงเรียนมัธยมศึกษาในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2560 จำนวน 4 โรงเรียน รวมจำนวน 12 คน นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่มี พฤติกรรมเสี่ยง โดยมีวิธีการคัดเลือกแบบเจาะจงโดยแต่ละคนพิจารณานักเรียนที่รับผิดชอบที่มี พฤติกรรมเสี่ยงในชั้นเรียนของตนเอง จำนวน 2 -3 คน รวมทั้งสิ้นจำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบ สำรวจพฤติกรรมเด็ก (TYC) และแบบวัดความเครียดของวัยรุ่น (SPST-20) แบบสอบถามความต้องการ การปรึกษา และแบบประเมินการฝึกอบรม สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ทำการทดสอบเปรียบเทียบก่อนและหลังการฝึก (t-test) ผลการวจิยัสรุปได้ดังนี้ 1. ปัญหาพฤติกรรมของวัยรุ่น (TYC) ในอยู่ในระดับอยู่ในระดับมีปัญหา (Clinical Range) ทั้งวัยรุ่นชาย และวัยรุ่นหญิง (เฉลี่ย 59.00 และ 59.25) 2. ระดับความเครียดของวัยรุ่น ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 41.56 3. ปัญหาพฤติกรรม (TYC) และระดับความเครียดของวัยรุ่นมีความสัมพันธ์กันทางบวกอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 (p < .01) 4. ความต้องการได้รับการปรึกษาปัญหาในภาวะวิกฤตของวัยรุ่นอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 96.80 เมื่อมีปัญหาในภาวะวิกฤตวัยรุ่นเลือกที่จะปรึกษาพ่อแม่เป็นอันดับที่ 1 เลือกปรึกษา ครูที่ปรึกษาและเพื่อนเป็นอันดบัที่ 2 และ เลือกปรึกษาครูแนะแนวเป็นอันดับที่ 3 5. ทักษะการให้บริการปรึกษาวัยรุ่นที่อยู่ในภาวะวิกฤต หลังการฝึกอบรมของครูที่ปรึกษาสูง กว่าก่อนการฝึกอบรมทุกทักษะ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (p < .01)th_TH
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.format.mediumapplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChiang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rights@CopyRighth มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่th_TH
dc.subjectบริการปรึกษาวัยรุ่นในภาวะวิกฤติth_TH
dc.subjectในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.titleบริการปรึกษาวัยรุ่นในภาวะวิกฤติ ในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdf594.49 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdf502.18 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdf711.89 kBAdobe PDFView/Open
Chapter 1.pdf706.13 kBAdobe PDFView/Open
Chapter 2.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open
Chapter 3.pdf680.09 kBAdobe PDFView/Open
Chapter 4.pdf683.02 kBAdobe PDFView/Open
Chapter 5.pdf753.83 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdf767 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.