Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/969
Title: ผลของโปรแกรมสุขศึกษาที่มีต่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ของเด็กวัยเรียนธาลัสซีเมีย
Other Titles: The Eff ects of the Health Education Program on Health Behavior Development of Thalassemia Children
Authors: อิมิวัฒน์, มุจลินท์
Issue Date: 28-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมสุขศึกษาที่มีต่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของเด็ก วัยเรียนธาลัสซีเมีย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเด็กวัยเรียนธาลัสซีเมียซึ่งมีอายุระหว่าง 6-12 ปีที่มารับการตรวจรักษา ในโรงพยาบาลสันป่าตอง อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ในช่วงเดือนมกราคม ถึงเมษายน 2554 โดยมีคุณสมบัติ ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วยโปรแกรมการให้สุขศึกษาเรื่องโรคธาลัสซีเมีย และ วิธีการปฏิบัติตัว วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบ สมมติฐานด้วยการทดสอบหาค่าที ผลการวิจัยพบว่า คะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเอง การปฏิบัติพฤติกรรม สุขภาพ และความคาดหวังในผลลัพธ์การกระทำของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนธาลัสซีเมีย ภายหลังการให้โปรแกรมสุขศึกษา อย่างน้อย 2 สัปดาห์เพิ่มขึ้นกว่า ก่อนการสอนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คะแนนความรู้เรื่องโรคธาลัสซีเมีย และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องของเด็กวัยเรียนธาลัสซีเมียหลังการให้สุขศึกษาทันที และภายหลังการให้โปรแกรมสุขศึกษา อย่างน้อย 2 สัปดาห์เพิ่มขึ้น โดยที่กลุม่ ตัวอยา่งที่เปน็ α-Thalassemia กับ β-Thalassemia มีความรู้เรื่องโรคธาลัสซีเมีย และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องที่ไม่แตกต่างกัน
Description: This research was to study the result of the health education program on health behavior of schoolage children with thalassemia. The samples were 20 school-age thalassemia children between the ages of 6 and 12, treated at San Pa Tong Hospital, Chiang Mai, between January and April 2011. Methods used in this study included the health education program for thalassemia and practice. The data was gathered and analyzed by applying percentage, standard deviation, and t-test. The results were as follows: 1) The perception of self-capability and health behavior of school-age children with thalassemia and the knowledge of thalassemiaand practice of school-age children with thalassemia after immediately providing the health education programand after providing the health education program for at least 2 weeks was higher than in the past at the statistically signifi cant level of .01 2) The knowledge of thalassemia and health behavior of school-age children with thalassemia, both α-Thalassemia and β-Thalassemia, had no diff erence in averages. Thus, it could be concluded that the samples of α-Thalassemia and β-Thalassemia had no diff erence in knowledge of thalassemia and health behavior.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/969
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
นส.มุจลินท์ อิมิวัฒน์.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.