Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/947
Title: ผลการใชโปรแกรมสรางเสริมสมรรถภาพทางกาย แบบสถานีสําหรับนักเรียนระดับปฐมวัย
Other Titles: Results of Using Circuit Training Physical Fitness Programs for Early Childhood Students
Authors: สุริยจันทร, ชวภรณ
แปนแกว, ผศ.ดร.พงษศักดิ์
Issue Date: 28-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) สรางโปรแกรมสรางเสริมสมรรถภาพทางกายแบบสถานีสำหรับนักเรียนระดับ ปฐมวัยอายุระหวาง 5-6 ป 2) เปรียบเทียบระดับสมรรถภาพทางกายกอนและหลังการใชโปรแกรมสรางเสริมสมรรถภาพ ทางกาย และ 3) ศึกษาจิตพิสัยของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีตอโปรแกรมสรางเสริมสมรรถภาพทางกายแบบสถานี กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนักเรียนระดับชั้นอนุบาลปที่ 3 จำนวน 34 คน เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวม ขอมูล ประกอบดวย โปรแกรมสรางเสริมสมรรถภาพทางกายแบบสถานีสำหรับนักเรียนระดับปฐมวัย แบบทดสอบและ เกณฑการประเมินสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยระดับกอนประถมศึกษา อายุ 4-6 ป และแบบสังเกตจิตพิสัย ของนักเรียนระดับปฐมวัยที่เรียนตามโปรแกรมสรางเสริมสมรรถภาพทางกายแบบสถานี วิเคราะหขอมูลโดยหาคาเฉลี่ย รอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาที (t-test) ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้ โปรแกรมสรางเสริมสมรรถภาพทางกายแบบ สถานีสำหรับนักเรียนระดับปฐมวัยซึ่งผูวิจัยสรางขึ้น ประกอบดวย ชุดสรางเสริมสมรรถภาพทางกายแบบสถานีทั้งสิ้น 12 ชุด โปรแกรมดังกลาวไดผานการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญ พบวา คาเฉลี่ยของดัชนีความเห็นสอดคลองเทากับ 0.94 สำหรับระดับสมรรถภาพทางกายของนักเรียนกอนและหลังการใชโปรแกรมสรางเสริมสมรรถภาพทางกายแบบสถานี พบวา สมรรถภาพทางกายเพิ่มขึ้น แตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกรายการ สวนคาดัชนีมวลกาย ของนักเรียนมีการพัฒนาตามเกณฑมาตรฐานจำนวนมากขึ้นกวาเดิม ในดานจิตพิสัยของนักเรียนที่เรียนตามโปรแกรม สรางเสริมสมรรถภาพทางกายแบบสถานี พบวา ดานความสนใจ ความรับผิดชอบ การปรับตัว ความมีวินัย และการแสดง ความรูสึกอยูในเกณฑระดับดีทุกดาน
Description: The purposes of this research were 1) to create a circuit training physical fitness program for early childhood students, aged between 5-6 years, 2) to compare the level of physical fitness before and after using the program, and 3) to study the attitudes of early childhood students towards the physical fitness program. The sample group comprised of 34 students in kindergarten grade 3. The research instruments consisted of a circuit training physical fitness program for early childhood students, tests and standard evaluation for physical fitness of Thai preschool children level aged 4-6 years, and affective observation from the early childhood students’ learning by using the circuit training physical fitness program. The data obtained was analyzed by using mean, percentage, standard deviation, and t-test. The findings of this research were as follows: The circuit training physical fitness program for early childhood students was set up, and included the 12 sets of a circuit training physical fitness. This program was checked by experts and was found that the average of congruence index was 0.94 for male and female students’ level of physical fitness after using the circuit training physical fitness program increased significantly on a statistical basis the .01 level for every item. Concerning their body composition, it was more standardized. Regarding the affective domain of the students after learning circuit training physical fitness program, their attention, responsibility, adjustment, discipline and expressions were at good levels.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/947
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ชวภรณ์ สุริยจันทร์.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.