Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/931
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนิลวรรณ, ผศ.เดชวิทย์-
dc.date.accessioned2018-01-28T08:10:39Z-
dc.date.available2018-01-28T08:10:39Z-
dc.date.issued2561-01-28-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/931-
dc.description.abstractการจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วมจะช่วยให้กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ มีความเข้มแข็งมากขึ้นด้วยการพัฒนาและสร้างสรรค์รูปแบบการรวมกลุ่มของสมาชิกให้ชัดเจนมากขึ้น เข้าสู่รูปแบบการจัดการที่เป็นมาตรฐาน รวมทั้งช่วยพัฒนาเครือข่ายของชุมชนในการบริหารจัดการ และเกิดความช่วยเหลือกันภายในกลุ่มอย่างเข้มแข็ง มีการบริหารสมาชิกกันเองภายในกลุ่มสมาชิกด้วยหลักการ “ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมบริหาร” นำแนวคิดการบริหารมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม เพื่อให้มีการจัดการกลุ่มที่เป็นระบบมากยิ่งขึ้น เพื่อก่อให้เกิดการทำงานที่มีประสิทธิภาพ มีความคล่องตัว และมีต้นทุนโดยรวมที่ต่ำลง หากทางกลุ่มมีความรู้ ความเข้าใจ และได้รับการสนับสนุน ในด้านรูปแบบการบริหารจัดการ การจัดการการผลิต การดำเนินกิจกรรมทางบัญชี เชื่อว่าทางกลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่จะสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรของกลุ่ม อย่างมีคุณภาพและเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค เพื่อเป็นส่วนร่วมในการขับเคลื่อนและพัฒนาธุรกิจชุมชนให้เข้มแข็งสามารถพึ่งตนเองได้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่th_TH
dc.titleการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมด้วยการจัดการความรู้ผลิตภัณฑ์เห็ดและผักปลอดสารพิษกลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ บ้านเจดีย์แม่ครัว ต.แม่แฝกใหม่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่th_TH
dc.typeJournalth_TH
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ผศ.เดชวิทย์ นิลวรรณ.pdf9.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.