Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/918
Title: การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาวัฒนธรรมไทลื้อ
Other Titles: THE PROMOTION OF CULTURAL TOURISM SUSTAINABILITY: CASE STUDY OF TAI LUE CULTURE
Authors: Nuansara, Manote
Keywords: การสงเสริม
วัฒนธรรมไทลื้อ
การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอยางยั่งยืน
Promotion
Tai Lue Culture
Cultural Tourism Sustainable
Issue Date: 26-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาพัฒนาการของชุมชนไทลื้อ และวิเคราะหรูปแบบประเพณีวัฒนธรรม เพื่อการทองเที่ยว ของชาวไทลื้อ พรอมกับศึกษาการพัฒนารูปแบบการรักษาประเพณีวัฒนธรรมทองถิ่นเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน และ ทําการประเมินรูปแบบการรักษาประเพณวีัฒนธรรมทองถิ่นเพื่อการทองเที่ยวทพี่ัฒนาขนึ้ การวจิัยครั้งนี้เปนการวจิัยเชิงคุณภาพ พื้นที่ในการศึกษา ไดแก หมูบานชาวไทลื้อ อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม 4 หมูบาน คือ บานลวงเหนือ บานลวงใต บานปาคา และบานสันโปง ผูใหขอมูลสําคัญประกอบดวย ชาวบานในชุมชน นักทองเที่ยว และผูมีสวนไดสวนเสีย กับการจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมใน 4 หมูบานดังกลาว จากนั้นไดทําการวิเคราะหขอมูล ดวยการวิเคราะหพัฒนาการ ในเชิงประวัติศาสตร การวิเคราะหเนื้อหาพรอมกับการสรางขอสรุปเชิงอุปทาน ผลการวิจัยดังนี้ ประวัติศาสตรความเปนมาของชาวไทลื้อสืบทอดมาหลายยุค มีการพัฒนาที่ชัดเจนทั้งดานความเปนอย ู สังคม และ กฎกติกาที่ถูกสรางขึ้นในชุมชน มีรูปแบบการรักษาประเพณีวัฒนธรรม และการพัฒนารูปแบบตามการเปลี่ยนแปลงทางดาน เศรษฐกิจและสังคม มีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมทุกป เนื่องจากกระแสการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวเปลี่ยนแปลงตามกระแส โลกาภวิัตน อาจกลาวไดวาอัตลักษณในการนําประเพณวีัฒนธรรมของไทลื้อที่ประกอบดวย การพัฒนาการของกิจกรรมประเพณี วัฒนธรรม อันเปนอัตลักษณที่แสดงออกของประเพณีวัฒนธรรม วิถีชีวิตมาชวยสงเสริมการทองเที่ยวของชาวไทลื้อมากขึ้น ในปจจุบัน นอกจากนั้นการพัฒนารูปแบบประเพณีวัฒนธรรม พบวาไดผานกระบวนการการสรางความหมายที่สะทอน ผานสัญญะทางวัฒนธรรมประเพณีที่สัมพันธกับการทองเที่ยว โดยในการสรางความหมายทางสัญญะทางวัฒนธรรมไดสราง ตามวัตถุประสงคในความตองการที่จะอนุรักษวัฒนธรรมใหคงไวดวยการผานการทองเที่ยวที่เปนเครื่องมือในการถายทอด ประกอบกับกล ุมไทลื้อที่มีการแสดงออกทางสัญญะตัวตนที่ชัดเจน มีความเปนอัตลักษณที่โดดเดนพรอมกับยังไมมี การเปลี่ยนแปลงมากนัก ขณะที่การประเมินรูปแบบการรักษาประเพณวีัฒนธรรมทองถิ่นเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยนื ไดนํามาสูการจัดการทองเที่ยว ที่มีเปาหมายในการดึงนักทองเที่ยวมากขึ้น ทําใหมีการเพิ่มคาใชจายสําหรับการทองเที่ยว ซึ่งชุมชนมีแนวทางในการประเมิน โดยการจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน มีองคประกอบที่สําคัญ เชน การดําเนินธุรกิจทองเที่ยวที่ตองตระหนักถึงความสามารถ ในการรองรับนักทองเที่ยวในดานพื้นที่ การพิจารณาสภาพธรรมชาติ สมาชิกในชุมชน ขนบธรรมเนียมประเพณี และวิถีชีวิต ของคนในชุมชน ที่นาสนใจคือยังพบวาการจัดการทองเที่ยวอยางยั่งยืนที่สามารถเปนรูปแบบของการรักษาประเพณีวัฒนธรรม ทองถิ่นตองสัมพันธกับเศรษฐกจิ สังคม และวัฒนธรรม อาทิ ดานเศรษฐกิจทยี่ั่งยืนดวยการนําเอาวถิดีั้งเดิมมาปรับใชใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน โดยเฉพาะวิถีดานเกษตรกรรมที่มีการเปลี่ยนการผลิตไปเปนเกษตรเชิงเดี่ยวมากขึ้น มีการใชเครื่องจักร เขามาแทนทสี่ัตวเลี้ยงไวใชงาน ขณะทดี่านสังคมทยี่ั่งยนื พิจารณาไดวาไดสงผลตอการจัดการทางสังคม เชน มีการเปดตลาดนดั ทุกวันพธุ เพื่อนําผลผลิตการเกษตรของแตละชุมชนมาจําหนาย และพืชผักสวนครวั โดยเปนการเกษตรปลอดสารพษิ การพัฒนา ตลาดนัดไทลื้อเพื่อเปนถนนวถิีคนลอื้ สําหรับดานวัฒนธรรมอยางยั่งยนื มีการพัฒนารูปแบบอยางตอเนื่อง ยังสงผลตอความยั่งยนื ของวัฒนธรรมที่อยูในมติิของการนําประเพณทีี่เปนรูปแบบไปประยุกตเพื่อการสงเสริมการทองเที่ยว ทําใหมีผลิตภัณฑการทองเที่ยว รองรับกอใหเกิดความยั่งยืนในดานวัฒนธรรม นอกเหนือจากการยึดถือแนวปฏิบัติตามประเพณี ยังไดใชการทองเที่ยว เปนเครื่องมือที่เสริมเขาไปในอีกมิติหนึ่งไดเชนกัน
Description: The objectives of this study were: to examine cultural development patterns of Tai Lue communities; to study cultural preservation model for sustainable development of this ethnic group; and to assess the development model of cultural preservation. The study was based on qualitative research method in Doi Saket district, Chiang Mai province, covering four villages, namely Luang Nuea, Luang Tai, Pa Kha, and San Pong. The key informants consisted of the community member, tourist and stakeholders involved in organizing cultural activities in the four communities. The obtained data were analyzed by structural-historical development approach, content analysis, and inductive method. The findings of the study are summarized as follows: The historical development of the Tai Lue ethnic group has been passed down from generation to generation. It can be evident from their livelihoods, societal activities, and community rules and regulations. The cultural preservation patterns of this tribal group have evolved and been modified in accordance with socio-economic factors. Cultural activities are changed on an annual basis due to tourism trends in the age of globalization. However, its cultural identities expressed through traditional festivals, lifestyles, and ways of life were adopted to promote cultural tourism in the communities. The development of the preservation model was carried out through the process of meaning creation reflected through cultural symbols relating to tourism. The symbolic meaning creation was based on the needs to maintain its culture by using tourism as a tool for cultural dissemination. In addition, the ethnic group has clearly expressed its symbolic identities distinctively without changing cultural identities. The assessment of the preservation model was based on tourism management, which aims to attract more tourists to increase their money spending. In conducting an assessment of sustainable tourism management, several major elements are needed. For instance, tourist operators must be aware of their own capacity in accommodating a number of visitors, in terms of tourist attractions, natural surroundings,community members, traditions, and lifestyles of the local people. It was also found that sustainable tourism management as a conservation model must be related to local economy, society, and culture. In order to ensure sustainable economy, traditional ways should be adapted in accordance with the present situation. In particular, more agricultural production has changed from single crop cultivation to the use of machines to replace beasts of burden. Effective social management will also lead to sustainable social development. For example, a community market is open every Wednesday for community members to sell their agricultural products, especially organic vegetables. The “Wednesday Market” has been developed as a walking street, reflecting the traditional way of life of the Tai Lue ethnic group. Sustainable culture is in the dimension of applying traditions to promote tourism in accordance with the ethnic lifestyle. As a result, tourism products have been created for cultural sustainability, besides traditional practices. Tourism can also be used as a tool to help promote sustainable development.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/918
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Manote Nuansara.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.