Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/881
Title: การพัฒนาประสิทธิภาพบริการของรานคาปลีก งานหัตถกรรมในจังหวัดเชียงใหม
Other Titles: SERVICE EFFICIENCY DEVELOPMENT OF HANDICRAFT RETAIL STORE IN CHIANG MAI PROVINCE
Authors: รัตนดำรงอักษร, ดรุชา
Keywords: การพัฒนาบริการ
รานคาปลีกงานหัตถกรรม
สินคาที่ระลึก
นักทองเที่ยวชาวไทย
เชียงใหม
Service Development
Chiangmai
Handicraft Retailer Store
Souvenir
Thai Tourist
Issue Date: 24-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อจัดทำรูปแบบการจัดจำหนายของรานคาปลีกงานหัตถกรรมในยานทองเที่ยว ของจังหวัดเชียงใหม ใหดึงดูดใจนักทองเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาเยี่ยมเยือน ซึ่งจะกอใหเกิดรายไดแกกิจการไดตลอดทั้งป ดวยการศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจของนักทองเที่ยวชาวไทย ในการเลือกใชบริการรานคาปลีกงานหัตถกรรม ในจังหวัดเชียงใหม และนำปจจัยเหลานั้นมาสรางแบบจำลองรูปแบบการจัดจำหนายของรานคาปลีกงานหัตถกรรมที่ดึงดูดใจ นักทองเที่ยวชาวไทย ลักษณะการวิจัยเปนแบบผสมผสานระหวางการวิจัยเชิงคุณภาพ สอดแทรกดวยการวิจัยเชิงปริมาณ ประเภทการวิจัย เชิงสำรวจ โดยอาศัยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของและขอมูลจากการสัมภาษณตัวอยางจากธุรกิจคาปลีกสินคาที่ระลึก จำนวน 12 ราย และจากตัวแทนหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ จำนวน 5 ราย ดวยการเลือกแบบเจาะจงมาเปนผูใหขอมูล สำคัญ เพื่อนำมาสรางแบบสอบถาม สำหรับใชเก็บขอมูลเชิงปริมาณจากนักทองเที่ยวชาวไทย จำนวน 804 ราย ซึ่งไดจากการ กำหนดโควตา แบบจำลองรูปแบบการจัดจำหนายของรานคาปลีกงานหัตถกรรมถูกสรางขึ้นจากขอมูลที่ไดจากนักทองเที่ยวชาวไทย และใชโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติขั้นสูงวิเคราะหองคประกอบเชิงสำรวจ เพื่อหาความสัมพันธระหวางตัวแปรซึ่งสามารถ จัดกลุมตัวแปรที่มีความสัมพันธกันได 7 กลุม ไดแก 1. การสรางความจงรักภักดีตอตราสินคา 2. การนำเอาสื่อประสมตางๆ มาสรางบรรยากาศภายในราน 3. ยานการคาสินคาหัตถกรรมที่เปนที่รูจักของนักทองเที่ยว 4. งานหัตถกรรมพื้นบานที่แสดง ใหเห็นถึงเอกลักษณประจำชาติ 5. การจัดแสดงสินคา 6. เจาหนาที่ทุกระดับ พนักงานทุกสวน และ 7. การออกแบบ ตกแตง และจัดการดานสถานที่ภายในอาคาร ซึ่งผลจากการทดสอบยืนยันวาตัวแปรทั้ง 7 กลุม ที่นำมาสรางแบบจำลองนั้นมีผล และสามารถสะทอนความเปนปจจัยไดจริงในพื้นที่ที่ศึกษา
Description: The objectives of the study were to determine the factors that influence the decision of Thai tourists to choose Chiang Mai handicraft retailer in the tourist district and explore the problems in Chiang Mai handicraft retailer store. And create a distribution model for handicraft retailer store that attracts Thai tourists. This can increase revenue for the business throughout the year. The study was a mixed methods research and there were combination between qualitative researches which use interviewing as a research instrument and quantitative research which survey research questionnaires were used to collect data. For qualitative, samples were drawn from 12 Chiang Mai handicraft retailer business samples, and 5 key informants from Government departments and agencies that have a role in supporting the business, by purposive sampling method. With quota sampling method, questionnaires were used for the quantitative data collected from the 804 Thai tourists. The advanced statistical software is processed and analyzed data from the questionnaire. And factor analysis was used to explore the relationship of variables within the structure and group as interrelated variables. Finally, confirmatory factor analysis technique was used to create service business development model. The results showed that there were 7 groups, 1. Brand loyalty 2. Atmosphere multimedia creation 3. Ribbon 4. National local handicrafts 5. Merchandise display 6. Officer and personal, and 7. Design of Interior of factors were affected to Thai tourists in choosing Chiangmai handicrafts retailer. With property management, the handicrafts retailer could more attractive for Thai tourists.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/881
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ดรุชา รัตนดำรงอักษร.pdf11.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.