Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/844
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorคำใจ, ผศ.กมลทิพย์-
dc.date.accessioned2018-01-23T02:41:57Z-
dc.date.available2018-01-23T02:41:57Z-
dc.date.issued2561-01-23-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/844-
dc.descriptionThe study of cost and achievement of Chiang Mai free pesticide has three pesticides has three main objectives; 1) to study the social cost and the basic factor towards free pesticide agriculture, 2) to study the quantity and types of free pesticide agricultural product and 3) to study the cost and achievement of free pesticide agriculture base on sufficiency economy. Participatory action research between 20 group’s agriculturists and group of small and micro community enterprise in Chiang Mai are conducted. These 20 groups are from 10 districts of Chiang Mai. In addition, Sarapee district agriculture office, Hang dong district agriculture office, the provincial party such as Chiang Mai Provincial Public Health office, Chiang Mai agriculture office and Multiple Cropping Center, Chiang Mai University also have a good collaboration with all of these groups. The result of this study found that the operation of Chiang Mai free vegetable is divided into 3 levels. The first level is that the agriculturists depend on themselves. The second level is that the agriculturists join together to form the cooperative and the third level is to be the sustainable group and find for the market as well as accumulate fund to enlarge the enterprise. Using social capital and community capital are also studied. It found that personal capital is the most important factor. The scope of study is divided into two groups. The first group is free pesticide vegetable produces who work less than 4 years. The second group is free pesticide vegetable producers who more than 4 years. The first group of producers belongs to the first and the second level of the operation. They do the agriculture based on themselves and then they form their group and manage their work. All of their working will depend on natural style. However, agriculturists who grow clean vegetables more than 4 years will belong to the third level. They will enlarge their business. They will have a specific market. They will send their products to market both in country and abroad. The rewards and benefit from inverstment are the income which use in their household approximately 200 bath/day. The sufficiency rewards is that in can help them to reduce the expenditure in their household and they can give the remain vegetables to their neighbors. The rewards for their mind is that they are in good health and happy as well as enjoy in their livers because they have an opportunity to talk, exchange opportunity to talk, exchange opinions and help each other.th_TH
dc.description.abstractการศึกษาต้นทุ่นเละผลสัมฤทธิ์ของการเกษตรปลอดสารพิษในจังหวัดที่คู่ประสงค์ของการศึกษาคือเพื่อศึกษาข้อมูลทุนทางสังคม ปัจจัยพื้นฐานสำคับต่อการทำการเกษตรปลอดสารพิษ เพื่อศึกษาปริมาและชนิดของผลผลิตที่ทำการผลิตผักปลอดสารพิษ เพื่อศึกษาถึงต้นทุนและผลสัมฤทธิ์ ของการผลิตผักปลอดสารพิษบนความพอเพียง แนวทางในการวิจัยครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR) ระหว่างกลุ่มเกษตรกรในชุมชนและกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ที่ตอบรับเข้าร่วมโครงการวิจัยในครั้งนี้ ประกอบไปด้วยกลุ่ม เกษตรกรจำนวน 20 กลุ่มจากพื้นที่ 10 อำเภอของจังหวัด นอกจากนี้ยังได้รับความร่วมมือจาก สำนักงานเกษตรอำเภอสารภี สำนักงานเกษตรอำเภอหางดง หน่วยงานภาคระดับจังหวัด ได้แก่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่สานกงานเกษตร จังหวัดเชียงใหม่ ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อให้เกิดการดำเนินงานแบบมีส่วนร่วมในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ การศึกษาพบว่า รูปแบบการผลิตผักปลอดสารพิษ จังหวัดเชียงใหม่ มีลักษณะของการดำเนินงานเป็น 3 รูปแบบบนพื้นฐานของแนวปฏิบัติเศรษฐกิจพอเพียง ในลักษณะของเกษตรกรรายเดียว และกลุ่มเกษตรกรด้วยรูปแบบการพัฒนาศักยภาพระบบการผลิตผักปลอดสารพิษจากเกษตรก้าวหน้าด้วยความสามารถในการพึ่งพาตนเองในขั้นที่หนึ่ง ไปพึ่งพาอาศัยกัน ร่วมกลุ่มจัดตั้งเป็นชุมชนสหกรณ์ในขั้นที่สอง และเกษตรยั่งยืน หาตลาดระดมทุนขยายกิจการในขั้นที่สาม ลักษณะการพัฒนาศักยภาพของเกษตรกรและชุมชน โดยศึกษาถึงการใช้ปัจจัยทุนทางสังคมและทุนในชุมชน พบว่า ทุนด้านบุคคลเป็นปัจจัยสำคัญที่สุด ส่วนทุนทางด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อมเนื่องจากแต่ละพื้นที่มีสภาพของพื้นที่ทางด้านการเกษตร ระบบนิเวศน์ ระบบน้ำเป็นปัจจัยสำคัญพื้นฐานที่จะส่งผลต่อการลงทุนและขับเคลื่อนทุนทางเศรษฐกิจในการทำเกษตรปลอดสารพิษให้มีประสิทธิภาพ และทุนทางด้านการศึกษาความรู้วิชาการเกษตรและภูมิปัญญาท้องถิ่น จึงเป็นหัวใจของการผลิตผักปลอดสารพิษที่ถูกนำปฏิบัติใช้ในการผลิตจริง ประเภทของปริมาณและชนิดของผลผลิตที่ทำการผลิตผักปลอดสารพิษตลอดจนถึงต้นทุนและผลสัมฤทธิ์นั้น ผู้วิจัยได้กำหนดขอบเขตของการศึกษาตามระยะเวลาโดยแบ่งเป็น 2 รูปแบบคือ ผู้ผลิตผักปลอดสารพิษในระยะเวลาน้อยกว่า 4 ปี และผู้ผลิตผักปลอดสารพิษในระยะเวลาที่เกินกว่า 4 ปี ขึ้นไปผลการศึกษาพบว่าสาหรับเกษตรกรที่ทำการผลิผักปลอดสารพิษน้อยกว่า 4 ปีเป็นเกษตรกรในขั้นที่หนึ่งและขั้นที่สอง ด้วยการพึ่งตนเอง และก้าวไปสู่การรวมกลุ่มช่วยกัน มีรูปแบบการผลิตผักปลอดสาร พิษด้วยระบบเปิดสำหรับต้นทุนการผลิตส่วนใหญ่เป็นต้นทุนคงที่ เช่น การสร้างระบบน้ำ การลงทุนซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในแปลงการผลิตในระยะเริ่มต้น ด้านตันทุนผันเปรจะแปรผันไปตามขนาดของการผลิต สำหรับผู้ผลิตผักปลอดสารพิษที่มีประสบการณ์เมากกว่า 4 ปี จะมิกลุ่มเกษตรกร ในขั้นที่สามที่มีความสามารถในเชิงธุรกิจมากขึ้น ขยายกิจการมีตลาดเฉพาะมากกว่าระดับการพึ่งพาอาศยกันในชุมชน ผลตอบแทนและผลสัมฤทธิ์จากการลงทุนพบว่าผลตอบแทนในรูปตัวเงินสามารถสร้างรายได้หมุนเวียนในครอบครัวต่อวันเป็นอย่างน้อยประมาณ 200 บาทและผลตอบแทนทางด้านจิตใจที่มีการรวมกลุ่มช่วยกันคิด ว่างแผ่นและทำงานร่วมกัน ทำให้สุขภาพกายและสุขภาพใจมีความสุข ความพอเพียงมีเหตุผลและเกิดการแลกเปลี่ยนแบ่งปันซึ่งกันเละกันเป็นความสุขในชีวิตที่มีค่าขึ้นth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่th_TH
dc.titleการศึกษาต้นทุนและผลสัมฤทธิ์ของการเกษตรปลอดสารพิษ ในจังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeThe Study of Cost and Achievement of Chiangmai Free Pesticide Agricultureth_TH
dc.typeJournalth_TH
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ผศ.กมลทิพย์ คำใจ.pdf39.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.