Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/842
Title: การพัฒนาองค์ความรู้เพื่อเมศักยภาพด้านการผลิตผักปลอดสารพิษแบบมีส่วนร่วมของจังหวัดเชียงใหม่
Other Titles: Development Knowledge Base to Enhance the Potential of Clean Vegetable Production Through Participation in Chiang Mai Province
Authors: สุระ, ดร.กาญจนา
Issue Date: 23-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การพัฒนาองค์ความรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านการผลิตผักปลอดสารพิษแบบมีส่านร่วมของจังหวัด เชียงใหม่มีวัตถุประสงค์ของการศึกษาคือ 1) ศึกษาการพัฒนาการบริหารจัดการองค์ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร ผักปลอดสารพิษตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการในการเพิ่มศักยภาพการผลิผักปลอดสารพิษในจังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาใช้วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนร่วม และการวิเคราะห์สถานการณ์ กลุ่มตัวอย่างผู้ผลิตผักปลอดสารพิษในจังหวัดเชียงใหม่จำนวน 13 กลุ่ม ใน 5 อำเภอ ของจังหวัดเชียงใหม่ ทำการเก็บขอมลโดยการสมภาษณ์แบบเจาะลึกประกอบการสังเกต การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพและปริมาณ บริบทที่ของกลุ่มผู้ปลูกผักปลอดสารพิษในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่ากลุ่มผู้ปลูกปลอดสารพิษทุกกลุ่มมีวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งกลุ่มที่เหมือนกันคือ เพื่อลดปริมาณการใช้สารเคมีในพืชผัก สร้างจิตสำนึกให้สมาชิกตระหนักถึงพิษภัยของการใช้สารเคมีที่ต่อร่างกายและสิงแวดล้อม ตลอดจนส่งเสริมิการใช้วัสดุธรรมชาติแทนปุ๋ยเคมี ทางด้านการบริหารจัดการ พบว่ากลุ่มผู้ปลูกผักปลอดสารพิษบางกลุ่มมีโครงสร้างที่ชัดเจน มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ มีการคัดเลือกคณะกรรมการอาศัยระบบอุปถัมภ์มากกว่าที่จะใช้วิธีการเลือกแบบคุณธรรม มีกฎระเบียบประจำกลุ่ม มีการวางแผนประจำกลุ่มโดยเฉพาะแผนการผลิตตลอดจนการกาบคุมิการทำงานของสมาชิกและแผนการตลาด ด้านการติดต่อประสานงานพบว่าส่วนใหญ่มีการติดต่อประสานงานโดยผ่านการประชุมกลุ่มเป็นส่วนใหญ่ การพัฒนาองค์ความรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านการผลิตผักปลอดสารพิแบบมีส่วนร่วมของจังหวัดเชียงใหม่ทำให้ทราบแนวทางและวิธี การที่จะเพิ่มศักยภาพการผลิตในด้านต่างๆ เช่น ความสาคับของการบริหารจัดการ ในด้านการจัดองค์กร การจัดคนเข้าท้างาน การว่างแผนการผลิตและแผนการตลาด การติดต่อประสานงานและการควบคุมงาน ซึ่งผลการวิจัยแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้ผลิตผักปลอดสารพิษ ได้ก่อให้เกิดการพัฒนาด้านองค์ความรู้เกี่ยวกับการบ่ริหารจัดการเพิ่มมาก โดยประเมินจากความสามารถในการจัดการบริหารกลุ่มที่ดีขึ้น และศักยภาพของตนในด้านการว่างแผนการผลิต ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ขณะเดียวกันทางผู้ผลิตผักปลอดสารพิษยัง ได้ให้ความสำคับของการสร่างเครือข่ายของกลุ่มผู้ผลิตผักปลอดสารพิษ โดยมีกลุ่มผู้ผลิตผักปลอดสารพิษจากอำเภอสารถีที่ได้รามกันก่อตั้งเป็นกลุ่มเครือข่ายและได้กระทำกิจกรามต่างๆ ร่วมกันซึ่งก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในการวางแผนการผลิตและการแก้ไขปัญหาทั้งทางด้านการผลิต สร้างจิตสำนึกและความเชื่อมั่นในการผลิตผักปลอดสารพิษเพื่อ ลดต้นทุนและให้ปลอดภัยในการบริโภค จะให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและอยู่ด้วยหลักความพอเพียง และถือว่าเป็นตัวอย่างที่ดีสำหรับกลุ่มอื่นๆ ในการที่จะศึกษาและเอาเป็นแบบอย่าง
Description: Development knowledge base to enhance the potential of clean vegetable production through participation in Chiang Mai province. This study has 2 main objectives, 1) to study the development of knowledge base concerning clean vegetables base on sufficiency economy of Chiang Mai agriculturists; 2) to develop management knowledge base to increase the potential of agriculturists for producing Chiang Mai clean vegetables Participatory action research and SWOT analysis were used to analyze the potential of 13 groups of clean vegetable agriculturists in 5 districts of Chiang Mai province Data is collected by in depth interview including observation. Qualitative and quantitative analysis are used in this study. The result of study are as follow; The context of these Chiang Mai clean vegetable groups is found that all of these groups have the same objective that they want to reduce the amount of chemical, to stimulus members to realize the danger of pesticide towards their health and environment and to promote to use natural substance instead of chemical fertilizer. Studying the potential management of these groups, it found that most of them have a clearly set of structure, responsibility and authority. They prefer to select the committees by patronage system rather than merit system. They have the regulation and also have their own plans particularly production plan and marketing plan. They control their member works. Most of them contact each other through the group meeting Development knowledge base to enhance the potential of clean vegetable production through participation in Chiang Mai help to know the ways and methods to enhance the potential of production management, organization management, staffing, production and marketing plans, coordinating and control ling . The participatory action research of clean vegetable producers leads to the increasing of knowledge base in management. This can evaluate from the better capability of group management and the potential for planning the production to consist with marketing needs. In addition, clean vegetable producers of the importance of building the network of clean vegetable producers. Clean vegetable producers of Saraphee district thereby join together to build their own network groups. They join and do activities together. This can assist to exchange their knowledge, help each other for production plan, solve problems of production. Also, it can create the realization and trust in producing clean vegetables in order to reduce the cost and safe for consumption. These can strengthen the community and be a good example for other groups to study and imitate.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/842
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ดร.กาญจนา สุระ.pdf39.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.