Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/455
Title: คาบาร์เร่ต์ไทย : คณะทิฟฟานี่ โชว์ พัทยา
Other Titles: Thai Cabaret : Tiffany’s Show Pattaya
Authors: ใจหาญ, ชัพวิชญ์
Jaihan, Chappavich
Keywords: คาบาร์เร่ต์, สาวประเภทสอง, ทิฟฟานี่, พัทยา
Cabaret, Ladyboys, Tiffany, Pattaya
Issue Date: 10-Jun-2016
Abstract: The objective of this research was to study history, performance style, and role of Tiffany's Show Pattaya, Thai Cabaret Show in Pattaya, Thailand. This study was qualitative research. Data were collected through observation and interview. Related documents and information were explored as well. The results of this study showed that Tiffany's Show Pattaya, was established in 1974(B.E. 2517) by Mr. Wichai Loetritrueangsil at Bali Hai Pier, South Pattaya, presenting transvestite cabaret show. Later, 1980, it changed into a theater and was moved its old location to North Pattaya, offering a wide range of shows. Then in 1998, it held Lady Boy Competition, leading to tourists’ increased awareness of Cabaret and enhanced public relations for Pattaya tourism. The researcher classified five major elements of performance: 1. costume, 2. scene, lighting, special effects, 3. music, 4. performers and choreography and 5. sequence of performers in a dance. Three roles of Cabaret were identified: 1. value, 2. tourism, and 3. economic.
Description: ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา รูปแบบการแสดง และบทบาทหน้าที่ของ คาบาร์เร่ต์ไทย คณะทิฟฟานี่ โชว์ พัทยา ที่มีต่อประเทศไทย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ จากการสังเกตและการสัมภาษณ์ รวมถึงการศึกษาข้อมูลเอกสารต่างๆ ผลการวิจัยพบว่า คาบาร์เร่ต์ คณะทิฟฟานี่ โชว์ พัทยา ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2517 โดย วิชัย เลิศฤทธิ์เรืองศิลป์ ที่แหลมบาลีฮาย พัทยาใต้ ซึ่งมีการแสดงของสาวประเภทสอง ต่อมา พ.ศ. 2523 ได้ย้ายมาเปิดเป็นโรงละครที่พัทยาเหนือ และได้มีการพัฒนารูปแบบการแสดงให้มีความหลากหลายมากขึ้น พ.ศ. 2541 ได้มีการจัดประกวดสาวประเภทสองขึ้นที่โรงละครแห่งนี้ ทำให้คาบาร์เร่ต์เป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยวมากขึ้น และเป็นการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเมืองพัทยาอีกด้วย สำหรับรูปแบบการแสดง ผู้วิจัยแบ่งออกเป็น 5 ด้าน คือ 1.เครื่องแต่งกาย 2.ฉาก แสงไฟ เทคนิคพิเศษ 3.เพลง 4.นักแสดงและการออกแบบท่าเต้น 5.รูปแบบแถว ส่วนบทบาทหน้าที่นั้น มีทั้งหมด 3 ด้าน คือ 1.ด้านคุณค่า 2.ด้านการท่องเที่ยว 3.ด้านเศรษฐกิจ
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/455
Appears in Collections:Article



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.