Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2205
Title: การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมย่าน ตลาดอาหารกลางคืนในเขตคูเมืองเก่า จังหวัดเชียงใหม่
Other Titles: Participatory Action Research for Environment Management from the Night Market Food in the Old Town Chiang Mai Province
Authors: นุ่มมีศรี, สุรศักดิ์
Nummisri, Surasak
บุญแจ้ง, สมศักดิ์
ไมตรี, มูลกัลทา
Keywords: ตลาดอาหารกลางคืน the night market food
การจัดการสิ่งแวดล้อม environment management
Publisher: Chiang Mai Rajabhat University
Abstract: Participatory action research for environment management from the night market food in the old town chiang mai province, aims to obtain appropriate models for the management of the environmental problems of the eco-friendly night food market by using technology suitable for the socio-economic and environmental conditions, the results of the study found that, the main sources of pollution from the night food market are solid waste, most of which are general types of waste such as plastic drinking glasses, plastic bags, used chopsticks, and wet waste, including economy, with the amount of rubbish at 1-5 kilograms per shop per day and pollution from wastewater such as tap water, equipment, waste water from food waste, the amount of wastewater is 5-25 liters per shop per day. In terms of the level of knowledge and understanding about environmental pollution in terms of wastewater, solid waste and air, night food marketing had a high level of knowledge and understanding. In terms of engagement, including planning, operations, and evaluation, night food market operators were at a high level. An appropriate model for managing environmental problems in the night food market area consists of providing entrepreneurs with knowledge and understanding on environmental problems, treatment of wastewater using simple technology, and the use of a wastewater collection system for implementation. To meet the standards and separation of solid waste and wet separation to be utilized and disposed of properly.
Description: การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมย่านตลาดอาหาร กลางคืนในเขตคูเมืองเก่า จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ได้รูปแบบที่เหมาะสมในการจัดการ ปัญหาสิ่งแวดล้อมของตลาดอาหารกลางคืนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยอาศัยเทคโนโลยีที่เหมาะสม กับสภาพด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ผลการศึกษา พบว่า แหล่งกำเนิดมลพิษจากตลาด อาหารกลางคืนที่สำคัญ ได้แก่ ขยะมูลฝอย ซึ่งส่วนมากจะเป็นขยะประเภท ทั่วไป ได้แก่ แก้วน้ำ พลาสติก ถุงพลาสติก ตะเกียบใช้แล้ว และขยะเปียก ได้แก่ เศษผัก โดยมีปริมาณขยะมูลฝอย อยู่ที่ 1- 5 กิโลกรัม/ร้าน/วัน และมลพิษจากน้ำเสีย ได้แก่ น้ำชะล้างอุปกรณ์ น้ำทิ้งจากเศษอาหาร มีปริมาณ น้ำเสียอยู่ที่ 5-25 ลิตร/ร้าน/วัน ในส่วนของระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมลพิษสิ่งแวดล้อม ทั้ง ทางด้าน น้ำเสีย ขยะมูลฝอย และอากาศ ผู้ประกอบการตลาดอาหารกลางคืน มีความรู้ความเข้าใจอยู่ ในระดับมาก ในส่วนของการมีส่วนร่วม ได้แก่ ด้านการวางแผน ด้านการปฏิบัติการ และด้านการ ประเมินผล ผู้ประกอบการตลาดอาหารกลางคืนมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก โดยรูปแบบ/ทางเลือกในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ตลาดอาหารกลางคืน ที่ เหมาะสมประกอบด้วย การให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้ประกอบการที่มีต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม การ บำบัดน้ำเสียด้วยเทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน การใช้ระบบรวบรวมน้ำเสียเพื่อนำไปบำบัดให้ได้มาตรฐาน และ การแยกขยะมูลฝอยและขยะเปียก เพื่อนนำใช้ประโยชน์ และกำจัดอย่างถูกวิธี
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2205
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chapter1.pdfChapter1 (บทที่1)152.78 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter2 (บทที่2)368.69 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter3 (บทที่3)405.05 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter4 (บทที่4)538.01 kBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter5 (บทที่5)140.46 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)226.66 kBAdobe PDFView/Open
Cover.pdfCover(ปก)268.87 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract (บทคัดย่อ)225.58 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix (ภาคผนวก)407.76 kBAdobe PDFView/Open
Bibiliography.pdfBibiliography (บรรณานุกรม)215.59 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.