Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2180
Title: การใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือทิ้งจากมะม่วง (เมล็ดในและเปลือกมะม่วง) เพื่อ ใช้เป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพในการลดระดับน้้าตาลในเลือด ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนพัฒนาผลิตภัณฑ์ ต้าบลบ้านโฮ่ง จังหวัดล้าพูน
Other Titles: Utilization of Mango Waste Material (Seed Kernels and Peels) as a ingredient of health supplements ofProduct Development Community Enterprise in Ban Hong District, Lamphun Province
Authors: รัตนปัญญา, .สิวลี
Rattanapunya, Siwalee
Keywords: ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
สารสกัดหยาบ; เมล็ดในและเปลือกมะม่วง
เบาหวาน
การลดระดับน้้าตาลในเลือด
Publisher: Chiang Mai Rajabhat University
Abstract: This experimental research is aims to study in vitro and in vivo the pharmacological activities to decrease blood sugar and acute toxicology of mango kernel and peel extraction. The gallic acid and mangiferin were analyzed for basic active constituents by U/HPLC. Five phytochemicals were investigated which are terpenoids, flavonoids, saponins, alkaloids and tannins. DPPH assay and FRAP assay were determined for antioxidant activities. MTT cell proliferation assay were practiced for detection of inhibiting growth of cancer cells. In vitro, the inhibitory effect against the digestive α-amylase and α-glucosidase was determined. In vivo, pharmacological activities to decrease blood sugar and acute toxicology of mango kernel and peel extraction were done in diabetic rats. The results of the study show that 95% ethanol crude extract of mango peel. by stirring (% yield) was 17.19 % while 95% ethanol crude extract of mango kernel by stirring (% yield) was 8.67%. The mango peel extract content of gallic acid was 0.35 ± 0.01 (% w / w) but without Mangiferin. Found that the Gallic acid content was 0.45 ± 0.01 (% w / w) and the Mangiferin content was 0.14 ± 0.01 (% w / w). Crude extract of mango peel were moderate levels of tannins while crude extract of mango kernel were high levels of terpenoids and tannins. The mango kernel extract with 95% Ethanol has the highest total phenolic compound content of 114.22 ± 8.36 mg GAE / g crude extract. 50% Inhibitory Concentration of mango peel and mango kernel by DPPH assay were 198.85 ± 13.40 μg / ml and 194.63 ± 6.46 μg / ml, respectively. The FRAP value of mango peel extract. The seed extracts of mango were 886.15 ± 4.16 μM / mg sample and 1,392.75 ± 2.21 μM / mg sample, respectively. In vitro study of pharmacological activities to decrease blood sugar shown both mango peels and mango kernels extracts had potential to inhibit α-glucosidase ค 4 activities with 43.92 and 19.69times of acarbose. There were potential to inhibit alpha amylase activities with 0.017 and 0.003 times of acarbose. No toxicity was found in the normal cells. In vivo study of pharmacological activities to decrease blood sugar shown mango kernels extract had significant antihyperglycemic effect in diabetic rats when the mango kernels extract was fed 1000 mg/kg. They prevented islet cells damage in diabetic rats. In glucose tolerance, it was found that diabetic rats who were given 1000 mg/kg of kernels extract for 30 days had a significantly reduce in blood sugar levels within 120 minutes. Moreover, it may also increase β-cells function in the pancreas to increase insulinlevel without causing hepatotoxicity and nephrotoxicity in diabetic rats
Description: การศึกษาครั้งนี้เป็นศึกษาวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาสารสกัดของเมล็ดและเปลือกมะม่วงเพื่อการลดระดับน้้าตาลในเลือด และ พิษวิทยาระดับเฉียบพลันของสารสกัดหยาบของเมล็ดและเปลือกมะม่วงในจานทดลองและใน สัตว์ทดลอง โดยด้าเนินการวัดปริมาณสาระส้าคัญเบื้องต้น ได้แก่ Gallic acid และ Mangiferin ด้วย เครื่อง U/HPLC และ การตรวจสอบสารพฤกษเคมีเบื้องต้น 5 ชนิด ได้แก่ เทอร์ปีนอยด์ ฟลาโวนอยด์ ซาโปนิน แอลคาลอยด์ และแทนนิน วิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH assay และวิธี FRAP assay ศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาในการยับยั้งเอนไซม์ alpha-glucosidase และ เอนไซม์ alpha-amylaseในจานทดลอง การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารสกัดของเมล็ดและเปลือก มะม่วงเพื่อการลดระดับน้้าตาลในเลือดในหนูเบาหวาน ผลการวิจัย พบว่า พบว่าการสกัดเปลือกมะม่วง ด้วย 95% Ethanol ด้วยวิธีการ Stirring ให้ % Yield เท่ากับ 17.19% และการสกัดเมล็ดในของมะม่วง ด้วย 95% Ethanol ด้วยวิธีการ Stirring ให้ % Yield เท่ากับ 8.67% ในสารสกัดเปลือกมะม่วงมีปริมาณ Gallic acid อยู่ 0.35 ± 0.01 (% w/w) แต่ไม่มี Mangiferin ส่วนสารสกัดเมล็ดในของมะม่วง พบว่ามีปริมาณ Gallic acid อยู่ 0.45 ± 0.01 (% w/w) และมีปริมาณ Mangiferin เท่ากับ 0.14 ± 0.01 (% w/w) สารสกัดเปลือกของ มะม่วงมีสารกลุ่มแทนนินปริมาณปานกลาง ส่วนสารสกัดเมล็ดในของมะม่วงมีสารในกลุ่มเทอร์ปี นอยด์และแทนนินปริมาณมาก สารสกัดเมล็ดในของมะม่วง ด้วย 95% Ethanol มีปริมาณ สารประกอบฟีนอลิกทั้งหมดสูงสุด คือ 114.22±8.36 mg GAE/g crude extract ค่าความเข้มข้นที่ สารสกัดที่แสดงประสิทธิภาพในการยับยั้งสารอนุมูลอิสระได้คิดเป็นร้อยละ 50 ( IC50) ของสารสกัด เปลือกของมะม่วง และสารสกัดเมล็ดในของมะม่วง ด้วยวิธี DPPH assay เท่ากับ 198.85±13.40 µg/ml และ 194.63±6.46 µg/ml ตามล้าดับ และ ค่าความสามารถในการเป็นสารต้านออกซิเดชัน แสดงในรูปของค่า FRAP value ของสารสกัดเปลือกของมะม่วง และสารสกัดเมล็ดในของมะม่วง เท่ากับ 886.15±4.16 µM/mg sample และ 1,392.75±2.21 µM/mg sample ตามล้าดับ การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาในการลดระดับน้้าตาลในเลือดของสารสกัดหยาบเปลือกและ เมล็ดในของมะม่วงในจานทดลอง พบว่า สารสกัดเปลือกมะม่วงและเมล็ดในมะม่วงมีฤทธิ์ยับยั้ง เอนไซม์ alpha-glucosidase ซึ่งมีความแรงคิดเป็น 43.92 และ 19.69 เท่า ของสารมาตรฐาน ชื่อเรื่อง : การใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือทิ้งจากมะม่วง (เมล็ดในและเปลือกมะม่วง) เพื่อ ใช้เป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพในการลดระดับน้้าตาลในเลือด ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนพัฒนาผลิตภัณฑ์ ต้าบลบ้านโฮ่ง จังหวัดล้าพูน ผู้วิจัย : อาจารย์ ดร.สิวลี รัตนปัญญา หน่วยงาน/คณะ : ภาควิชาสาธารณสุขศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทุนอุดหนุนการวิจัย : ส้านักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีที่พิมพ์ : 2564 ก 2 acarbose นอกจากนี้สารสกัดเปลือกมะม่วงและเมล็ดในมะม่วงยังมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ alpha amylase ซึ่งมีความแรงคิดเป็น 0.017 และ 0.003 เท่า ของสารมาตรฐาน acarbose โดยไม่ ก่อให้เกิดพิษต่อเซลล์ปกติ จากผลการศึกษาสารสกัดหยาบจากเมล็ดเนื้อในมะม่วงในสัตว์ทดลอง พบว่าสารสกัดน่าจะมี ฤทธิ์ลดระดับน้้าตาลในเลือด โดยหนูกลุ่มเบาหวานที่ได้รับสารสกัดจากเมล็ดเนื้อในมะม่วงขนาด 1000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม สามารถลดระดับน้้าตาลในเลือดของหนูเบาหวานได้อย่างมีนัยส้าคัญทาง สถิติโดยการปกป้องความเสียหายของเซลล์ไอซ์เลตในหนูเบาหวาน ในส่วนของความทนทานต่อ น้้าตาลในหนูเบาหวาน พบว่าหนูกลุ่มเบาหวานที่ได้รับสารสกัดจากเมล็ดเนื้อในมะม่วงขนาด 1000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม เป็นเวลา 30 วัน สามารถลดระดับน้้าตาลในเลือดภายใน 120 นาทีอย่างมี นัยส้าคัญทางสถิติและยังอาจส่งผลเพิ่มการท้างานของเบต้าเซลล์ในตับอ่อนให้มีการหลั่งของอินซูลิน เพิ่มขึ้น โดยไม่ก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อตับและไตในหนูเบาหวาน
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2180
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover(ปก)314.08 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract (บทคัดย่อ)733.81 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)736.92 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapte1 (บทที่1)654.12 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter2 (บทที่2)1.54 MBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter3 (บทที่3)2.21 MBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter4 (บทที่4)4.53 MBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter5 (บทที่5)818.11 kBAdobe PDFView/Open
Bibiliography.pdfBibiliography (บรรณานุกรม)512.01 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix (ภาคผนวก)432.09 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.