Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1303
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิระภรณ์, ไหมทอง-
dc.contributor.authorWiraporn, Maithong-
dc.contributor.authorฉัตรชัย, เครืออินทร์-
dc.contributor.authorChatchai, Kruea-In-
dc.date.accessioned2019-01-07T07:00:45Z-
dc.date.available2019-01-07T07:00:45Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1303-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้สนใจศึกษาแนวทางการทำวิจัยดาราศาสตร์ทางแสง โดยใช้ภาพถ่ายจากกล้องโทรทรรศน์ ร่วมกับกล้องดิจิตอล DSLR เป็นอุปกรณ์รับสัญญาณ ซึ่งได้ทำการศึกษาระบบดาวคู่ 2 ระบบ คือ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงคาบการแปรแสงของระบบดาวคู่ RW Comae Berenices ที่ได้จากการสังเกตการณ์เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ณ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา นครราชสีมา จากการวิเคราะห์พบว่ามีคาบการโคจรอัตราการโคจรเพิ่มขึ้น 0.00186 วินาทีต่อปี ซึ่งหมายถึงระยะห่างระหว่างดาวทั้งสองมีค่าเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อธิบายได้ด้วยทฤษฎี Thermal Relaxation Oscillation (TRO) และนอกจากนี้ยังพบว่าค่า O – C มีการเพิ่มขึ้นของคาบการโคจร และมีการเปลี่ยนแปลงเป็นคาบซ้อนกันอยู่ ซึ่งสามารถอธิบายได้ถึงการมีอยู่ของวัตถุที่สามที่มีรัศมีวงโคจรอยู่ที่ประมาณ 1.83 AU และมีคาบการโคจรของสมาชิกดวงที่สามประมาณ 34.55 ปี การศึกษาระบบดาวคู่ V1977 Orion ได้จากการสังเกตการณ์เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ 2560 ณ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา ฉะเชิงเทรา เมื่อศึกษาสมบัติทางกายภาพของระบบดาวคู่นี้ โดยใช้โปรแกรม Wilson – Devinney พบว่ามีระนาบมุมเอียง (i) ประมาณ 50.86 องศา มีอัตราส่วนมวลที่คำนวณได้เป็น (q) มีค่า 1.60 และเมื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงคาบ การแปรแสงของระบบดาวคู่ V1799 Orion พบว่าคาบการโคจรมีค่าลดลงด้วยอัตรา 1.41 × 10- 2 วินาที/ปี ซึ่งหมายถึง การลดลงของระยะห่างระหว่างดาวสมาชิกทั้งสองดวงของระบบดาวคู่เป็นผลอันเนื่องมาจากกลไกการถ่ายเทมวลสารระหว่างสมาชิกทั้งสอง จึงมีแนวโน้มว่าระบบดาวคู่ V1799 Orion นี้มีวิวัฒนาการที่สอดคล้องกับทฤษฎี Angular Momentum Loss (AML)th_TH
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.format.mediumapplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChiang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rights@CopyRight มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.subjectสมบัติทางกายภาพth_TH
dc.subjectO-Cth_TH
dc.subjectXY Leonisth_TH
dc.subjectV1977 Orionth_TH
dc.subjectTROth_TH
dc.subjectAMLth_TH
dc.titleการศึกษาทางแสงของระบบดาวคู่บางระบบ จากภาพถ่ายโดยกล้องดิจิตอล DSLRth_TH
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
1.Cover.pdfCover102.55 kBAdobe PDFView/Open
2.Abstract.pdfAbstract429.12 kBAdobe PDFView/Open
3.Content.pdfContent664.53 kBAdobe PDFView/Open
4.Chapter-1.pdfChapter-1451.34 kBAdobe PDFView/Open
5.Chapter-2.pdfChapter-2946.46 kBAdobe PDFView/Open
6.Chapter-3.pdfChapter-31.05 MBAdobe PDFView/Open
7.Chapter-4.pdfChapter-41.12 MBAdobe PDFView/Open
8.Chapter-5.pdfChapter-5614.93 kBAdobe PDFView/Open
9.Biliography.pdfBibliography545.45 kBAdobe PDFView/Open
10.Appendix-1.pdfAppendix-11.17 MBAdobe PDFView/Open
11.Appendix-2.pdfAppendix-21.14 MBAdobe PDFView/Open
12Appendix-3.pdfAppendix-3918.03 kBAdobe PDFView/Open
13.Appendix-4.pdfAppendix-41.07 MBAdobe PDFView/Open
14.Appendix-5.pdfAppendix-5769.96 kBAdobe PDFView/Open
15.Appendix-6.pdfAppendix-6690.03 kBAdobe PDFView/Open
16.Appendix-7.pdfAppendix-7770.55 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.